พจนานุกรมคำศัพท์

calcitonin

แคลซินโตนิน : ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมไธรอยด์ทำหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด


calvin cycle
วัฎจักรคัลวิน : ขั้นหนึ่งของกระบวนการสังเคราะห์แสง เป็นการเปลี่ยนแปลงสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอม โดยมีคาร์บอนไดออกไซด์เข้าร่วม กลายเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอม แล้วสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอมนี้จะเปลี่ยนกลับไปเป็นสารที่มีคาร์บอน 3 อะตอมนี้จะเปลี่ยนกลับไปเป็นสารที่มีคาร์บอน 5 อะตอมใหม่อีกครั้งหนึ่ง เป็นวัฎจักรเช่นนี้เรื่อยๆ ไป ทำให้เกิดสารซึ่งจะเปลี่ยนต่อไปเป็นกลูโคส


cambium
แคมเบียม : กลุ่มเซลในลำต้นพืชที่มีการแบ่งเซลอยู่ตลอดเวลา เรียงตัวอยู่ 2 บริเวณ คือ อยู่ในชั้นของเปลือกไม้ ทำให้เปลือกไม้หนาขึ้นและส่วนที่เรียงตัวอยู่ระหว่างโฟลเอมกับไซเลมจะทำให้เนื้อเยื่อทั้ง 2 ชนิดเพิ่มมากขึ้น


cancer
มะเร็ง : กลุ่มเซลหรือเนื้อเยื่อในร่างกายซึ่งแบ่งตัวเจริญเติบโตอย่างผิดปกติโดยไม่มีการควบคุมกลายเป็นเนื้อร้ายซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิต


capillary
เส้นเลือดฝอย : เส้นเลือดขนาดเล็กมากแตกแขนงจาเส้นเลือดใหญ่ไปตามเนื้อเยื่อต่างๆ ทั่วร่างกาย มีผนังบาง ประกอบด้วยเซลเพียงชั้นเดียวเป็นที่แลกเปลี่ยนก๊าซและสารต่างๆ ระหว่างเซลกับเลือด


capillary action
คะปิลลารีแอกชัน : การเคลื่อนที่ของของเหลวขึ้นไปตามหลอดเล็กๆ เช่น การเคลื่อนที่ของน้ำไปตามท่อเล็กๆ ในรากเพื่อลำเลียงไปตามส่วนต่างๆ ของพืช


carbohydrate
คาร์โบไฮเดรต : สารอาหารประเภทให้พลังงานประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) พบทั่วไปในพืชและสัตว์ เช่น แป้ง น้ำตาล เซลลูโลส


carnivore
ผู้บริโภคเนื้อสัตว์ : สิ่งมีชีวิตที่ดำรงชีพโดยการกินเนื้อสัตว์ เช่น แมว เสือ สิงโต เป็นต้น


carotene
คาโรตีน : สารไฮโดรคาร์บอนชนิดไม่อิ่มตัวมีในพืชทั่วไป มีสีเหลือ ส้ม หรือแดงส้ม เมื่อกินเข้าไปจะถูกเปลี่ยนเป็นวิตะมิน A ในตับ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคเกี่ยวกับตา เช่น นัยน์ตามัว หรือตาบอดกลางคืน ถ้าเด็กขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้ร่างกายไม่เจริญเติบโต


carotenoid
คาโรตีนอยด์ : สารประกอบอินทรีย์พวกหนึ่งที่มีสีเหลือง ส้ม หรือแดงทับทิมมีในพืชและเนื้อเยื่อบางชนิดของสัตว์ สารคาโรตีนอยด์ที่สำคัญได้แก่ คาโรตีน ไลโคปีน และอนุพันธ์อื่นๆ ของสารทั้ง 2 นี้


carrier
พาหะ : สิ่งมีชีวิตที่นำเอาลักษณะทางพันธุกรรมหรือเชื้อโรคไป ถ่ายทอดให้แก่สิ่งมีชีวิตอื่น


cell
เซล : หน่วยชีวิตเล็กๆ ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และโปรติสต์ เซลหนึ่งๆ ประกอบด้วยโปรโตปลาสซึมที่มีเยื่อบางๆ หุ้มอยู่


cell division
การแบ่งเซล : กระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้จำนวนเซลเพิ่มขึ้นจากเซลเดิม


cell membrane
เยื่อหุ้มเซล : เยื่อที่หุ้มโปรโตปลาสซึม ประกอบด้วยสารพวกโปรตีนและไขมันทำหน้าที่ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าและออกจากเซล


cell plate
แผ่นกั้นเซล : แผ่นที่กั้นไซโตปลาสซึมในเซลพืชออกเป็นสองส่วน เกิดขึ้นหลังจากโคโมโซมแยกออกเป็น 2 กลุ่ม ในกระบวนการแบ่งเซล


cell wall
ผนังเซล : ส่วนนอกสุดของเซลพืชและเซลโปรติสต์บางชนิด ประกอบด้วย เซลลูโลส ลิกนิน หรือเพกติน ช่วยทำให้เซลแข็งแรงมากขึ้น


cellulose
เซลลูโลส : สารอินทรีย์ที่มีอยู่ในธรรมชาติมากที่สุด อยู่ในผนังเซลของพืชทุกชนิด เป็นโพลิเมอร์ของน้ำตาลกลูโคสใช้ในอุตสาหกรรมเส้นใยสังเคราะห์และพลาสติกบางชนิด


centipede
เซนติปิด : สัตว์พวกหนึ่งในไฟลัมอาร์โธรโปดา ลำตัวเป็นปล้อง มีขาปล้องละ 1 คู่ เช่น ตะขาบ เป็นต้น


central nervous system
ระบบประสาทส่วนกลาง : ระบบประสาทส่วนหนึ่งของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง


centriole
เซนตริโอล : ออร์แกเนลของเซลมีลักษณะเป็นทรงกระบอก ผนังประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียงตัวกันอย่างมีระเบียบ มีในเซลสัตว์ทุกชนิด เซลโปรติสต์และเซลพืชชั้นต่ำบางชนิด ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆ ภายในเซล


cerebellum
ซีรีเบลลัม : สมองส่วนท้ายด้านบน เป็นศูนย์ควบคุมการได้ยิน การทรงตัวและการทำงานของกล้ามเนื้อลายที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ยืน เดิน วิ่ง เป็นต้น


cerebrum
ซีรีบรัม : ส่วนหนึ่งของสมองส่วนหน้าของสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม โดยเฉพาะคนสมองส่วนนี้จะมีรอยหยักเป็นร่องมาก ซีรีบรัมมีหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ความรู้สึก การดมกลิ่น และความจำ


cervix
ปากมดลูก : ส่วนล่างของมดลูกที่ติดต่อกับช่องคลอด


chain of reflexes
รีเฟลกซ์ต่อเนื่อง : พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ที่ไปกระตุ้นรีเฟลกซ์ ของระบบประสาทให้ทำงานต่อเนื่องกันไป


chemical digestion
การย่อยทางเคมี : กระบวนการย่อยอาหารโดยเอนไซม์ จากอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เป็นโมเลกุลเล็กลงจนผ่านเยื่อหุ้มเซลได้


chemical fertilizer
ปุ๋ยเคมี : ปุ๋ยที่ทำจากสารเคมีซึ่งมีธาตุที่พืชต้องการ นิยมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปุ๋ยวิทยาศาสตร์


chemical oxygen demand
ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (ซีโอดี) : ปริมาณของออกซิเจนที่ใช้ทำปฏิกิริยาเคมีในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้ำ ค่าซีโอดีเป็นเกณฑ์อย่างหนึ่งในการวัดคุณภาพของน้ำ


chemical signal
การสื่อด้วยสารเคมี : พฤติกรรมทางสังคมของสัตว์โดยใช้ฟีโรโมนเป็นสื่อให้สัตว์ตัวอื่นเข้าใจความหมายที่ตนต้องการ


chemosynthesis
การสังเคราะห์ทางเคมี : กระบวนการสร้างอาหารของสิ่งมีชีวิตบางชนิดโดยใช้พลังงานจากปฏิกิริยา เคมี


chest cavity
ช่องอก : ช่องในทรวงอกซึ่งมีอวัยวะสำคัญคือ ปอดและหัวใจ


chitin
ไคติน : สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีองค์ประกอบคล้ายคาร์โบไฮเดรท แต่มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบด้วย พบในเขาสัตว์ เปลือกหุ้มภายนอกของสัวต์จำพวกอาร์โธรปอดและผนังเซลของเชื้อราบางชนิด


chlorophyll
คลอโรฟิล : สารสีเขียวพบในพืชและโปรติสต์บางชนิด มีสมบัติในการดูดพลังงานแสง ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช


chloroplast
คลอโรปลาสต์ : ออร์แกเนลที่มีรูปร่างเป็นเม็ดค่อนข้างกลม ภายในมีองค์ประกอบที่สำคัญ 2 ส่วนคือ สโตรมาและกรานา พบในไซโตปลาสซึมของเซลพืช และโปรติสต์บางชนิด คลอโรปลาสต์เป็นแหล่งสังเคราะห์แสงของพืช


cholesterol
คอเลสเตอรอล : สารประกอบอินทรีย์ประเภทสเตอรอยด์ พบในเลือด เนื้อเยื่อประสาท สมอง ตับ และต่อมหมวกไต


chordate
คอร์เดต : สัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตาลักษณะสำคัญคือมีโนโตคอร์ด ช่องเหงือก และระบบประสาทกลางอยู่เหนือทางเดินอาหาร


chorion
เยื่อหุ้มชั้นนอก (ของเอมบริโอ) : เยื่อหุ้มชั้นนอกของเอมบริโอในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง


choroid
คอรอยด์ : ชั้นของเนื้อเยื่อลูกตา อยู่ถัดชั้นสเคลอราเข้าไป เป็นชั้นที่เส้นเลือดมาเลี้ยง มีรงควัตถุกระจายอยู่มาก ช่วยป้องงกันมิให้แสงทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังของนัยน์ตาได้โดยตรง


chromatid
โครมาทิด : ส่วนของโครโมโซมที่เกิดจากการแบ่งตัวตามยาวออกเป็นสองส่วน แต่ยังไม่หลุดออกจากกันเกิดในระยะโปรโฟสของการแบ่งเซล


chromosome
โครโมโซม : องค์ประกอบหนึ่งของเซล มีลักษณะเป็นท่อนอยู่ในนิวเคลียส ประกอบด้วย DNA และโปรตีนมีความสำคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม


chymotrypsin
ไคโมทริปซิน : เอนไซม์ชนิดหนึ่งจากตับอ่อนทำหน้าที่ย่อยเปปไตด์ในลำไส้ให้แตกตัวต่อไป


cilia
ซิเลีย : โครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายขนสั้นๆ มีขนาดเล็กมาก ยื่นออกจากไซโตปลาสซึมของเซลใช้สำหรับโบกพัดในการเคลื่อนไหวของพวกโปรติสต์บางชนิด


ciliary muscle
กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตา : กล้ามเนื้อเกาะยึดรอบเลนส์ตาทำหน้าที่บังคับเลนส์ ์ตาให้มีความยาวโฟกัสมากหรือน้อยได้เพื่อให้มองเห็นภาพชัด


ciliate
ซิลิเอต : โปรโตซัวพวกหนึ่งที่มีซิเลียใช้ในการเคลื่อนที่ เช่น พารามีเซียม เป็นต้น


circular muscle
กล้ามเนื้อวง : กล้ามเนื้อที่เรียงเป็นวงรอบลำตัวของสัตว์บางชนิด เช่น ไส้เดือนดิน เมื่อทำงานร่วมกับกล้ามเนื้อตามยาวแล้วจะทำให้เคลื่อนทีได้


citrulline
ซิตรัลลีน : กรดอะมิโนชนิดหนึ่งเกิดขึ้นระหว่างการสังเคราะห์อาร์จินีน และการเกิดยูเรียในร่างกาย


citrus canker
โครงแคงเกอร์ของพืชตระกูลส้ม : โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียทำให้ใบส้มเป็นจุดเหลืองกลมๆ ผลส้มเป็นปุ่มปมตามผิว ผลผลิตลดน้อยลง


class
คลาส : ลำดับหนึ่งในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต


cleavage
คลีเวจ : ระยะที่ไซโกตมีการแบ่งเซลเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ โดยที่ขนาดของไซโกตไม่เปลี่ยนแปลง


climax community
กลุ่มสิ่งมีชีวิตชั้นสุด : กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่อยู่รวมกันในระบบนิเวศน์อย่างสมดุลไม่ถูกแทนที่อย่างรวดเร็วโดยกลุ่มสิ่งมีชีวิตอื่นๆ


closed circulatory system
ระบบหมุนเวียนแบบวงจรปิด : ระบบหมุนเวียนเลือดของสัตว์บางชนิดที่มีเลือดไหลวนเวียนอยู่ภายในเส้นเลือกตลอดเวลา เช่น ในไส้เดือนดิน ปลา กบ คน เป็นต้น


coccus
คอคคัส : แบคทีเรียที่เซลมีรูปร่างกลมหรือค่อนข้างกลม


cochlea
คอเคลีย : ส่วนของหูตอนใน มีลักษณะเป็นท่อขดคล้ายก้นหอย เป็นอวัยวะส่วนหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการรับคลื่นเสียง


coelenterata
ซีเลนเตอราตา : ไฟลัมหนึ่งของสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วยสัตว์ที่ลำตัวมีลักษณะคล้ายถุง มีท่อกลวงตามำตัว มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น เช่น ไฮดรา แมงกะพรุน ปะการัง กัลปังหา เป็นต้น


coelenterate
ซีเลนเตอเรต : สัตว์ในไฟลัมซีเลนเตอราตา


coenzyme
โคเอนไซม์ : สารที่จับติดอยู่กับเอนไซม์ช่วยในการทำงานของเอนไซม์


coliform bacteria
แบคทีเรียโคลิฟอร์ม : แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในลำหส้คน และมีอยู่ทั่วไปในน้ำปริมาณของแบคทีเรียนี้ในน้ำใช้เป็นเกณฑ์อย่างหนึ่งในการวัดคุณภาพของน้ำ


collar cell
เซลคอลลาร์ : เซลที่เรียงตัวอยู่ด้านในลำตัวของฟองน้ำ ทำหน้าที่ย่อยอาหาร และมีแฟลกเจลลัมช่วยโบกพัดให้น้ำเคลื่อนผ่านช่องในลำตัว


collecting tubule
ท่อรับของเหลว : ท่อเล็กๆ ที่รับของเหลวซึ่งเป็นของเสียจากแหล่งต่างๆ เช่นเซลเฟลม หรือไต เป็นต้น เพื่อขับออกนอกร่างกายของสัตว์บางชนิด


colony
กลุ่ม : กลุ่มของโปรติสต์ชนิดเดียวกันที่อยู่รวมกัน เช่น กลุ่มแบคทีเรีย กลุ่มเชื้อรา เป็นต้น


colour blindness
การบอดสี : ความผิดปกติในการมองเห็นสีเนื่องจากไม่สามารถรับความรู้สึกจากแสงสีปฐมภูมิสีใดสีหนึ่งหรือทั้งสามสีได้


commensalism
ภาวะมีการเกื้อกูล : สภาพความสัมพันธ์แบบหนึ่งของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกันโดยที่ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์จากการอยู่ร่วมกันนั้นและ อีกฝ่ายหนึ่งไม่เสียประโยชน์แต่อย่างใด เช่น กล้วยไม้ที่เกาะบนต้นไม้ไหญ่


common name
ชื่อสามัญ : ชื่อของสิ่งมีชีวิตหรือสารเคมีเรียกตามภาษาท้องถิ่น


community
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

ที่เกาะบนต้นไม้ไหญ่


common name
ชื่อสามัญ : ชื่อของสิ่งมีชีวิตหรือสารเคมีเรียกตามภาษาท้องถิ่น


community
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

mmon name

ชื่อสามัญ : ชื่อของสิ่งมีชีวิตหรือสารเคมีเรียกตามภาษาท้องถิ่น


community
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

WBR>เคมีเรียกตามภาษาท้องถิ่น


community
กลุ่มสิ่งมีชีวิต : สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

"> community

กลุ่มสิ่งมีชีวิต : สิ่งมีชีวิตตั้งแต่ 2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

2 ชนิด (สปีชีส์) ขึ้นไป อาศัยอยู่ร่วมกัน และมีความสัมพันธ์กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

WBR>กัน เช่น ปลากับพืชในน้ำ


companion cell
เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA


เซลคอมพาเนียน : เซลพวกหนึ่งของเนื้อเยื่อโฟลเอม มีขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

BR>ขนาดค่อนข้างเล็กอยู่ชิดด้านข้างของซีฟทิวบ์เมมเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

มเบอร์


complete medium
สารอาหารสมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

สมบูรณ์ : สารอาหารที่ใช้เลี้ยงจุลินทรีย์ประกอบด้วยสารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

>สารที่จุลินทรีย์ต้องการอย่างครบถ้วน


composed fertilizer
ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

composed fertilizer

ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก : ปุ๋ยที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

>เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังของซากพืช ซากสัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

สัตว์ และมูลสัตว์ บางทีเรียกว่า ปุ๋ยอินทรีย์


conditioning
การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA

"condition"> conditioning

การมีเงื่อนไข : พฤติกรรมของสัตว์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2 ชนิด อย่างมีเงื่อนไขคือเมื่อมีสิ่งเร้าแท้จริงและสิ่งเร้าไม่แท้จริง เร้าติดต่อกันเป็นเวลานาน จนกระทั่งแม้จะไม่มีสิ่งเร้าแท้จริงอยู่ด้วย สิ่งเร้าไม่แท้จริงก็สามารถกระตุ้นให้สัตว์นั้นๆ ตอบสนองได้


cone
โคน : อวัยวะห่อหุ้มเมล็ดของพืชจำพวกจิมโนสเปิร์มที่มีลักษณะคล้ายใบ แต่เป็นแผ่นแข็งซ้อนกัน มีสีน้ำตาล


cone cell
เซลรูปกรวย : เซลประสาทในชั้นเรตินา มีลักษณะเป็นรูปกรวย ทำหน้าที่บอกความแตกต่างของแสงสีต่างๆ


consumer
ผู้บริโภค : สิ่งมีชีวิตจำพวกที่ไม่มีคลอโรฟิล สร้างอาหารเองไม่ได้ ต้องกินพืชหรือเนื้อสัตว์ที่มีพลังงานอยู่แล้วเป็นอาหาร


continuous variation
ความแปรผันต่อเนื่อง : ความแตกต่างของลักษณะใดลักษณะหนึ่งของสามชิกในกลุ่มประชากรที่ต่างกันไปตามลำดับ เช่นความแตกต่างในด้านความสูงของคนกลุ่มหนึ่ง


contractile vacuole
คอนแตรกติลแวคิวโอล : โครงสร้างภายในเซลของโปรติสต์บางชนิด จะขยายขนาดโตขึ้นเมื่อได้รับน้ำที่อยู่รอบๆ และจะหดตัวแฟบลงอย่างรวดเร็วเมื่อถ่ายน้ำหรือพ่นน้ำออกไปนอกเซลแล้ว


co-ordinating fibre
เส้นใยประสานงาน :เส้นใยใต้ผิวเซลที่เชื่อมโยงระหว่างโคนของซิเลียในโปรโตซัวพวกซิลิเอต เส้นใย นี้ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของซิเลีย


co-ordinating system
ระบบประสานงาน : การทำงานประสานกันระหว่างระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ ซึ่งต่างก็เป็นระบบที่สอนงตอบต่อสิ่งเร้า


cornea
กระจกตา : ส่วนหน้าของสเคลอรา มีลักษณะโปร่งใสเพื่อให้แสงผ่านเข้าลูกตาได้


corpus albicans
คอร์ปัสอัลบิแกนส์ : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ที่เปลี่ยนมาจากคอร์ปัสลูเตียม เมื่อไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสอัลบิแกนส์ก็จะฝ่อไป


corpus luteum
คอร์ปัสลูเตียม : กลุ่มเนื้อเยื่อภายในรังไข่ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากกราเฟียนฟอลลิเกิลที่ปล่อยไข่ออกไปจากรังไข่แล้ว ถ้าไข่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมก็จะผลิตฮอร์โมนโปรเจนเตอโรนเพื่อควบคุมการตั้งครรภ์ จนหมดหน้าที่ก็จะสลายไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม คอร์ปัสลูเตียมจะเปลี่ยนคอร์ปัสอัลบิแกนส์


corpus luteum stage
ระยะหลังตกไข่ : ระยะเวลาถัดจากการตกไข่ไปจนถึงเริ่มมีประจำเดือน (สำหรับคนจะกินเวลาประมาณ 13-15 วัน) ระยะนี้มีการสร้างผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรอรับไข่ที่ผสมแล้ว


cortex
คอร์เทกซ์ : เนื้อเยื่อชั้นหนึ่งของเปลือกพืชหรือเนื้อเยื่อชั้นนอกของอวัยวะภายในของสัตว์ เช่น คอร์เทกซ์ของลำต้นหรือรากจะอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นเอปิดตอร์มิสกับวาสดิวลาร์ปันเดิล หรือคอร์เทกซ์ของไตคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกของไต


cortisol
คอร์ติซอล : ฮอร์โมนที่สร้างจากอะดรีนับคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต มีหน้าาที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของคาร์โบไฮเดรต


cotyledon
ใบเลี้ยง : ใบแรกของเอมบริโอของพืชดอก ทำหน้าที่ให้อาหารแก่เอมบริโอ เมื่อเอมบริโอเจริญขึ้น ใบนี้จะหมดหน้าที่และร่วงไป


Cowper's gland
ต่อมเคาว์เปอร์ : ต่อมที่อยู่ใต้ต่อมลูกหมาก มีหน้าที่สร้างสารหล่อลื่นท่อปัสสาวะในขณะเกิดการกระตุ้นทางเพศ


cowpox
โรคฝีดาษวัว : โรคฝีดาษที่เป็นกับวัวเกิดจากเชื้อไวรัส มีอาการคล้ายโรคฝีดาษที่เป็นกับคนแต่ไม่รุนแรงเท่า


cranial nerve
เส้นประสาทสมอง : เส้นประสาทที่เชื่อมระหว่างสมองกับอวัยวะต่างๆ ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าและออกจากสมอง


cretinism
โรคครีตินิซึม : โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไธรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกาย และสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่นมีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย


cross_fertilization
การผสมข้าม : การผสมของเซลสืบพันธุ์จากต่างต้น หรือต่างตัวกัน


crustacean
ครัสเตเชียน : สัตว์ในคลาสครัสเตเชีย มีส่วนหัวและส่วนนอกรวมกัน เช่น กุ้ง ปู เป็นต้น


crustose lichen
ครัสโตสไลเคน : ไลเคนที่สามารถดำรงชีวิตอยู่บนก้อนหินหรือในที่แห้งแล้งได้


culex
คิวเลกซ์ : ชื่อจีนัสของยุงพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ตามบ้านเรือนทั่วไป เป็นพาหะของโรคเท้าช้าง


cuticle
คิวติเกิล : ส่วนที่เคลือบผิวนอกของชั้นเอปิเดอร์มิสของพืช เป็นสารพวกคิวติน


cutin
คิวติน : สารประเภทขี้ผึ้ง พบมากในคิวติเกิล ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและก๊าซ


cyanocobalamin
ไซยาโนโคบาลามิน : วิตะมิน B12 เป็นผลึกสีแดงเข้ม ละลายได้ในน้ำและอัลกอฮอล์ ถ้าร่างกายขาดวิตะมินชนิดนี้จะทำให้เกิดโรคโลหิตจางชนิดเพอร์นิเซียสแอนีเมีย ซึ่งเซลเม็ดเลือดแดงมีรูปร่างผิดไปจากปกติ และมีฮีโมโกลบินน้อน


cyclic electron transfer
การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฎจักร : การถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากโมเลกุลของคลอโรฟิลโดยมีตัวรับส่งเป็นทอดๆ แล้วอิเล็กตรอนจะกลับมาสู่โมเลกุลของคลอโรฟิลตามเดิมระหว่างการถ่ายทอดอิเล็กตรอนนั้นจะมีการนำพลังงานไปสร้างสารประกอบ ATP


cyclosis
ไซโคลซิส : การไหลเวียนของไซโตปลาสซึมภายในเซล


cyclostomate
ปลาปากกลม : สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกหนึ่ง อาศัยอยู่ในน้ำ มีลักษณะคล้ายปลาโนโตคอร์ดยังปรากฏอยู่ในระยะโตเต็มวัย


cytochrome
ไซโตโครม : กลุ่มของสารประกอบพวกโปรตีนหรือเอนไซม์ภายในเซล จับตัวต่อกันเป็นลูกโซ่ มีหน้าที่สำคัญในการรับและส่งอิเล็กตรอนต่อเนื่องกันไป พบมากในไมโตคอนเดรีย


cytoplasm
ไซโตปลาสซึม : ของเหลวภายในเซลที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโตปลาสซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอกโตปลาสซึมและเอนโดปลาสซึม


cytosine
ไซโตซีน : สารประกอบอินทรีย์พวกเบสชนิดหนึ่ง มีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ พบใน DNA และ RNA