ผู้เขียน หัวข้อ: ส่งงานความหมาย CMS LMS LCMS  (อ่าน 1184 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Vutthipong53

  • บุคคลทั่วไป
ส่งงานความหมาย CMS LMS LCMS
« เมื่อ: วันที่ 26 พฤษภาคม 2010, 10:02:13 »

    วุฒิพงษ์  แก้ตา   เลขที่ 16  ม.5/3[/color]
   
      รู้จัก LMS
LMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะคือ

  1.ซอฟต์แวร์ฟรี (Open Source LMS) ที่มีลิขสิทธิ์แบบ GPL เช่น
   • Moodle (www.moodle.org)
Moodle is a course management system (CMS) - a free, Open Source software package designed using sound pedagogical principles, to help educators create effective online learning communities.

  • ATutor (www.atutor.ca)
ATutor is an Open Source Web-based Learning Content Management System (LCMS) designed with accessibility and adaptability in mind. Administrators can install or update ATutor in minutes, develop custom templates to give ATutor a new look, and easily extend its functionality with feature modules. Educators can quickly assemble, package, and redistribute Web-based instructional content, easily retrieve and import prepackaged content, and conduct their courses online. Students learn in an adaptive learning environment.

  • Claroline (www.claroline.net)
Claroline is a free application based on PHP/MySQL allowing teachers or education organizations to create and administrate courses through the web.

  • LearnSquare (www.learnsquare.com) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยทีมงาน NECTEC
- ทดสอบเรียนบทเรียนต่างๆ

  • VClass (www.vclass.net) เป็น lms สัญชาติไทย พัฒนาโดยศูนย์ Distributed Education Center สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT)

  • Sakai (www.sakaiproject.org)
Sakai is an online open source Collaboration and Learning Environment. Many users of Sakai deploy it to support teaching and learning, ad hoc group collaboration, support for portfolios and research collaboration.

  • ILIAS (http://www.ilias.de)
ILIAS is a powerful web-based learning management system that allows users to create, edit and publish learning and teaching material in an integrated system with their normal web browsers. Tools for cooperative working and communication are included as well. ILIAS is available as open source software under the GNU General Public License (GPL). Universities, educational institutions, private and public companies, and every interested person may use the system free of charge and contribute to its further development.

    • More...

   2. ซอฟต์แวร์ที่บริษัท เอกชนพัฒนาเพื่อขายโดยเฉพาะ (Commercial LMS) เช่น
    • Blackboard Learning System
- ตัวอย่างการใช้งานที่ Sasin Chula

   • WebCT (www.webct.com)

   • IBM Lotus Learning Management System

   • Education Sphere (www.educationsphere.com) - Sum Systems Management Co., Ltd.
 
   • Dell Learning System (DLS) > www.dell.com

  • De-Learn (www.de-learn.com) - Data E-Learning Co., Ltd.

  • i2 LMS (www.progress-info.co.th) - Progress Information Co.,Ltd

  • More...
 
   การนำระบบ LMS ไปประยุกต์ใช้งาน
     ระบบ LMS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายอาทิ สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน โดยในการนำไปใช้งานผู้ใช้สามารถ ปรับการใช้งานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน จุดประสงค์หลักในการพัฒนาระบบขึ้นมาก็เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ใช้งานใน หน่วยงานทั้งระบบ E-Learning หรือระบบ Knowledge Management(KM)


   ผู้ใช้งานในระบบ LMS
สำหรับผู้ใช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถที่จะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
  • กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตั้งระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน
  • กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor / Teacher) : ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน
  • กลุ่มผู้เรียน(Student/Guest) : หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตั้งรหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละวิชาได้


 LMS User Level
 LMS Model
 รูปแสดง LMS Model


  มาตรฐานระบบ E-Learning
        กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา(DOD) ได้ศึกษาปัญหาของความไม่เข้ากัน (Incompatibility) ของระบบอีเลิร์นนิ่ง และเนื้อหาวิชา ที่พัฒนาแตกต่าง แพลตฟอร์มกัน ไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ ทางกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ จึงรวบรวมข้อกำหนด ที่พัฒนาก่อนหน้ามาเข้าด้วยกัน ทั้งของ IMS และ AICC เพื่อที่จะออกเป็นข้อกำหนด อีเลิร์นนิ่งกลาง และมีการตั้งหน่วยงานร่วมมือกันระหว่างกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ หน่วยงานรัฐบาล ภาคเอกชนและภาคการศึกษา จัดตั้งสถาบันที่เรียกว่า ADL (Advanced Distributed Learning) เมื่อปี 1997 และได้ออกข้อกำหนดแรกในเวอร์ชั่น 1.0 เมื่อปี 2000 แต่เวอร์ชั่นที่ประสบความสำเร็จเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปคือ ข้อกำหนด SCORM Version 1.2 ซึ่งออกเมื่อเดือนตุลาคมปี 2001 ดังนั้นในการสร้างระบบ LMS ขึ้นมาไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบขึ้นมาใช้งานเอง ซื้อจากบริษัทเอกชน หรือใช้ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปประเภท Open Source จำเป็นต้องยึดตามมาตรฐานกลางคือ SCORM (Sharable Content Object Reference Model)


ออฟไลน์ FrankJScott

  • นักศึกษา
  • ****
  • กระทู้: 176
  • สวัสดี
    • ดูรายละเอียด
High Rated Product Info
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันที่ 06 มกราคม 2024, 09:51:52 »
Please try Google before asking about Cool Product Tips 966_595