ผู้เขียน หัวข้อ: ส่งงาน CMS LMS LCMS  (อ่าน 2363 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

aksanti54

  • บุคคลทั่วไป
ส่งงาน CMS LMS LCMS
« เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2010, 10:33:12 »
นายเอกสันติ  ก้อนศิลา  ชั้นม.5/4  เลขที่ 19

 :laugh: :laugh: :laugh: :laugh: :laugh:


• CMS ย่อมาจาก Content Management System เครื่องมือบริหารและเว็บไซต์สำเร็จรูป
• LMS ย่อมาจาก Learning Management System เครื่องมือบริหารจัดการเนื้อหาบทเรียนรูปแบบอีเลิร์นนิ่ง
• LCMS ย่อมาจาก Learning Content Management System เครื่องมือสร้างเว็บไซต์และระบบอีเลิร์นนิ่งสำเร็จรูป






CMS หมายถึง
CMS คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนำเอา ภาษาสคริปต์(Script languages) ต่างๆมาใช้ เพื่อให้วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็น PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ(แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ่งมักต้องใช้ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์(เช่น Apache) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์(เช่น MySQL) ลักษณะเด่นของ CMS ก็คือ มีส่วนของ Administration panel(เมนูผู้ควบคุมระบบ) ที่ใช้ในการบริหารจัดการส่วนการทำงานต่างๆในเว็บไซต์ ทำให้สามารถบริหารจัดการเนื้อหาได้อย่างรวดเร็ว และเน้นที่การ จัดการระบบผ่านเว็บ(Web interface) ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บท่า(Portal Systems) โดยตัวอย่างของฟังก์ชันการทำงาน ได้แก่ การนำเสนอบทความ(Articles), เว็บไดเรคทอรี(Web directory), เผยแพร่ข่าวสารต่างๆ(News), หัวข้อข่าว(Headline), รายงานสภาพดินฟ้าอากาศ(Weather), ข้อมูลข่าวสารที่น่าสนใจ(Informations), ถาม/ตอบปัญหา(FAQs), ห้องสนทนา(Chat), กระดานข่าว(Forums), การจัดการไฟล์ในส่วนดาวน์โหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ข้อมูลสถิติต่างๆ(Statistics) และส่วนอื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไขแล้วประยุกต์นำมาใช้งานให้เหมาะสมตามแต่รูปแบบและประเภทของเว็บไซ ต์นั้นๆ





LMS หมายถึง

LMS คือเน้นที่การใช้เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียนปกติและใน ห้องเรียนเสมือน เพื่อช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ WBI เน้นการนำเสนอเนื้อหาของรายวิชาทางเว็บ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนได้ตามศักยภาพของผู้เรียน Virtual Classroom เน้นการจัดกิจกรรมในเว็บที่จำลองกิจกรรมต่างๆ ให้เหมือนหรือใกล้เคียงกับห้องเรียนปกติLMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS




  LCMS หมายถึง

LCMS (Learning Content Management System ) คือระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ พัฒนามาจากระบบการเรียนรู้ 2 ระบบ คือ
1) ระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ซึ่งมีความสามารถในการนำเนื้อหาการเรียนรู้ มารวมกันเป็นกลุ่ม ๆ เรียกว่า Course แล้วนำเข้าสู่ระบบ
2) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS)
จุดเด่นของระบบ คือสามารถสร้าง และจัดเก็บข้อมูลเมื่อนำความสามารถของทั้ง 2 ระบบมาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วพัฒนาต่อจนเกิด LCMS โดยมีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ คือระบบสามารถสร้างจัดเก็บ นำมา ใช้ใหม่ จัดการและเผยแผ่เนื้อหา จากฐานข้อมูลของเนื้อหาทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วย Course,Learning object, Metadata and Repository
สรุปคือ LCMS ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ อย่าง Learning object แล้วนำมาประกอบขึ้นใหม่เป็นเนื้อหาที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนแต่ ละบุคคล เหมือนกับปรัชญาการผลิตเรื่อง Just-in-time กล่าวคือส่งความรู้ในปริมาณที่เพียงพอให้ถูกบุคคล ทันเวลาเหมาะสมกับการใช้งาน แต่ระบบสามารถจัด Learning object ได้ต้องให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนการเข้าเรียน แล้วนำไปวิเคราะห์หา learning path สรุปการทำงานของระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้





ความแตกต่าง ของ CMS LMS และLCMS
    CMS คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรใน การพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนำเอา ภาษาสคริปต์(Script languages) ต่างๆมาใช้ เพื่อให้วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ
LMS คือเน้นที่การใช้เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียนปกติและใน ห้องเรียนเสมือน เพื่อช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ WBI เน้นการนำเสนอเนื้อหาของรายวิชาทางเว็บ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนได้ตามศักยภาพของผู้เรียน Virtual Classroom
LCMS สามารถสร้าง และจัดเก็บข้อมูลเมื่อนำความสามารถของทั้ง 2 ระบบมาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วพัฒนาต่อจนเกิด LCMS โดยมีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ คือระบบสามารถสร้างจัดเก็บ นำมา ใช้ใหม่ จัดการและเผยแผ่เนื้อหา จากฐานข้อมูลของเนื้อหาทั้งหมด


ประเภทของ CMS

1.  เว็บท่า

    ผู้คนมักจะสับสนว่า เว็บท่า หรือ พอร์ทัล (portal) คือระบบจัดการเนื้อหาของเว็บ แต่จริงๆแล้ว เว็บท่าเป็น CMS ประเภทที่รวมระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่เน้นการทำเว็บทั่วไปเป็นหลัก โดยที่ผู้ใช้ระบบเว็บท่าสามารถปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยได้อย่างง่ายดาย แทนที่จะใช้โปรแกรมออกแบบหน้าตาเว็บอื่น ๆ เช่น ดรีมวีฟเวอร์ โกไลฟ์ หรือไมโครซอฟท์ ฟรอนท์เพจ ที่มีเนื้อหาแบบนิ่ง นอกจากนี้ ยังมีโมดูล หรือคอมโพเนนท์หลากหลายไว้เสริมความสามารถของเว็บท่าอีกด้วย
    ตัวอย่างของ โปรแกรมเว็บท่าที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Mambo (CMS) Joomla! PhpNuke Postnuke

      2. บล็อก
บล็อก หรือ blog ย่อมาจาก weblog เป็นระบบที่ให้ผู้ใช้สมัครเป็นสมาชิก และได้พื้นที่บล็อกตามที่กำหนด จากนั้นสมาชิกจะสามารถปรับปรุงเนื้อหาในบล็อกของตนได้อย่างง่ายดาย กำลังเป็นที่นิยมของวัยรุ่นในขณะนี้สำหรับเขียนไดอารี่ส่วนตัว เป็นต้น
    ตัวอย่างของโปรแกรมบล็อก ได้แก่ Wordpress

      3. อี-คอมเมิร์ซ
    เป็นโปรแกรมสำหรับบริหารจัดการ การขายสินค้าบนอินเทอร์เน็ต มีหน้าร้านสำหรับแสดงสินค้า ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าที่ต้องการใส่ตะกร้า และจ่ายเงินได้ภายหลังผ่านทางบัตรเครดิตเป็นต้น
    ตัวอย่างของโปรแกรมอี-คอมเมิซ ได้แก่ PhpShop, osCommerce และ Zen cart (ที่พัฒนาจาก osCommerce)

     4. อี-เลิร์นนิง
    เรียกอีกอย่างว่า LMS หรือ ระบบจัดการเนื้อหาเพื่อการเรียนการสอน สามารถอัปโหลดเนื้อหาของรายวิชาขึ้นระบบได้ ให้ผู้ที่เป็นสมาชิกสามารถเข้ามาดูเนื้อหาได้
    ตัวอย่างของโปรแกรมอี-เลิร์นนิง ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Moodle ATutor Blackboard WebCT

     5. แกลลอรีภาพ
เป็นโปรแกรมบริหารจัดการที่เน้นการแสดงภาพเป็นหลัก ผู้ใช้สามารถอัปโหลดภาพขึ้นระบบเพื่อแสดงผลได้
    ตัวอย่างของโปรแกรมแกลลอรีภาพ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ Coppermine

     6.  กรุ๊ปแวร์
    เป็นโปรแกรมสำหรับการประสานงานร่วมกันผ่านระบบเครือข่าย มีฟังก์ชันการทำงานสนับสนุนการทำงานร่วมกันของทีมงาน เช่นปฏิทินนัดหมาย อีเมล กลุ่มผู้ทำงาน การบริหารโครงการ การแลกเปลี่ยนไฟล์เอกสาร เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว สามารถรองรับการทำงานในสำนักงานทั่วๆไปได้ถึงร้อยละ 80
    ตัวอย่างของโปรแกรมกรุปแวร์ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ dotProject eGroupware MoreGroupware phpCollab phpProjekt

    7. วิกิ
    เป็นระบบบริหารจัดการเนื้อหาเว็บที่มีแนวความคิดใหม่ โดยเปิดกว้างให้ทั้งผู้ที่เป็นสมาชิกและไม่เป็นสมาชิกสามารถแก้ไขเนื้อหาได้ แทบจะทุกส่วนของเว็บ
    ตัวอย่างของโปรแกรมวิกิ ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ มีเดียวิกิ Docuwiki

      8 กระดานข่าว
    กระดานข่าว เป็นสถานที่แปะข้อความกระทู้ ในผู้ที่เป็นสมาชิก หรือบุคคลทั่วไปสามารถแสดงความเห็นในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องได้ เป็นที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เนื่องจากทำให้เกิดชุมชนของผู้ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกัน สามารถมาพูดคุยแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกันได้
    ตัวอย่างของโปรแกรมกระดานข่าว ที่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ PhpBB FudForum Invision Power Board vBulletin

       9. ไลท์
    เป็นโปรแกรมบริหารจัดงานเนื้อหาเว็บที่เปรียบเสมือนโมดูลย่อยๆ โมดูลเดียวของเว็บท่า เน้นที่การบำรุงรักษาง่าย สามารถลงระบบได้โดยไม่ต้องใช้ฐานข้อมูล แต่เก็บข้อมูลเป็นไฟล์อักขระธรรมดา
    ตัวอย่างของโปรแกรมไลท์ เช่น phpFreeNews Limbo

       10. อื่น ๆตัวอย่างของโปรแกรมระบบจัดการเนื้อหาเว็บอื่นๆ เช่น ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ ปฏิทินออนไลน์ เป็นต้น


ประเภท LMS

 1. อนุญาตให้นำไปเผยแพร่ได้อย่างเสรี (Free Redistribution) ไลเซนต์จะต้องไม่จำกัดในการขาย หรือแจกจ่ายให้กับผู้อื่น โดยไม่มีการบังคับว่าต้องจ่ายค่าธรรมเนียม (Royalty Fee) ให้กับเจ้าของซอฟต์แวร์ต้นฉบับ
          2. ให้มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Source Code) โปรแกรมต้องให้มาพร้อมกับ Source Code หรือถ้าไม่ได้ให้มาพร้อมโปรแกรมจะต้องมีช่องทางที่จะทำให้ผู้ใช้สามารถเข้า ถึง Source Code ได้โดยไม่มีการคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และ Source Code ที่ให้มาจะต้องอยู่ในรูปแบบที่นำไปปรับปรุงแก้ไขได้
          3. อนุญาตให้สร้างซอฟต์แวร์ใหม่โดยต่อยอดจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Derived Works) ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ต้องอนุญาตให้สามารถนำไปปรับปรุงแก้ไข และสร้างซอฟต์แวร์ใหม่ โดยซอฟต์แวร์ตัวใหม่จะต้องมีไลเซนต์เช่นเดียวกับซอฟต์แวร์ต้นฉบับ
          4. ต้องไม่แบ่งแยกผู้พัฒนาออกจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ (Integrity of the Author's Source Code) ไลเซนต์อาจจะไม่ได้ให้ไปพร้อมซอสโค้ดในรูปแบบที่สามารถแก้ไขได้ ในกรณีที่มีการกำหนดว่าจะให้ซอร์สโค้ดเฉพาะส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม (patch files) เพื่อใช้ในการคอมไพล์โปรแกรมเท่านั้น ไลเซนต์ใหม่จะต้องกำหนดให้ชัดว่าสามารถแจกจ่ายได้หลังจากแก้ไขซอร์สโค้ดแล้ว โดยไลเซนต์ใหม่อาจจะต้องทำการเปลี่ยนชื่อ หรือเวอร์ชั่นให้แตกต่างจากซอฟต์แวร์ต้นฉบับ
          5. จะต้องไม่เลือกปฏิบัติเพื่อกีดกันบุคคล หรือกลุ่มบุคคล (No Discrimination Against Persons or Groups) ไลเซนต์จะต้องไม่เลือกปฏิบัตเพื่อกีดกันการเข้าถึงซอฟต์แวร์ของบุคคล หรือกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ
          6. จะต้องไม่จำกัดการใช้เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่านั้น (No Discrimination Against Field of Endeavor) ไลเซนต์จะต้องไม่จำกัดการใช้สำหรับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น จะต้องไม่จำกัดการใช้งานเฉพาะในเชิงธุรกิจ หรือในการทำวิจัยเท่านั้น
          7. การเผยแพร่ไลเซนต์ (Distribution of License) สิทธิ์ที่ให้ไปกับโปรแกรมจะต้องถูกบังคับใช้กับทุกคนที่ได้รับโปรแกรมเท่า เทียมกัน โดยไม่จำเป็นต้องใช้ไลเซนต์อื่นๆ ประกอบ
          8. ไลเซนตของซอฟต์แวร์จะต้องไม่ขึ้นกับไลเซนต์ของผลิตภัณฑ์ (License Must Not be Specific to a Product) หมายความว่า ถ้าซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สถูกนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์สจะต้องไม่ต้องไม่ขึ้นอยู่กับซอฟต์แวร์ใด ซอฟต์แวร์หนึ่งในผลิตภัณฑ์ตัวนั้น
          9. ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์จะต้องไม่จำกัดไลเซนต์ของซอฟต์แวร์อื่น (License Must Not Restrict Other Software) ไลเซนต์ของซอฟต์แวร์ที่รวมในมีเดียเดียวกันจะต้องไม่ถูกบังคับให้เป็นโอ เพ่นซอร์สซอฟต์แวร์ด้วย
          10. ไลเซนต์จะต้องไม่ผูกติดกับเทคโนโลยี (License Must Be Technology-Neatral)

ประโยชน์CMS

1  A CMS web site is database driven. เว็บไซต์ CMS เป็นฐานขับเคลื่อน

This allows you to create and store hundreds or thousands of pages in the database without the need to update each one of them. นี้ช่วยให้คุณสามารถสร้างและเก็บหลายร้อยหรือหลายพันหน้าในฐานข้อมูลโดยไม่ ต้อง update หนึ่งของพวกเขาแต่ละ

2. 2 Separate design and content. ออกแบบแยกและเนื้อหา

The design of the site template is separate from the content. ออกแบบเว็บไซต์แม่แบบแยกจากเนื้อหา This allows you to change the design any time without affecting the content stored on the site. นี้ช่วยให้คุณสามารถเปลี่ยนการออกแบบตลอดเวลาโดยไม่มีผลต่อเนื้อหาที่เก็บ ไว้ในเว็บไซต์

3. 3 Use cascading style sheet (CSS) to control site appearance. ใช้ cascading style sheet (CSS) เพื่อควบคุมเว็บไซต์ที่ปรากฏ

Altering one CSS file will allow you to change the design and/or color of your CMS site. แก้ไข CSS ไฟล์หนึ่งจะช่วยให้คุณสามารถเปลี่ยนแปลงการออกแบบและ / หรือสีของเว็บไซต์ CMS ของคุณ The consistency of the design can be preserved. ความสอดคล้องของการออกแบบที่สามารถรักษา

4. 4 Multiple authors ผู้ เขียนหลาย

If you have different authors that wish to contribute to your CMS web site you can set up multiple user access in the administration panel. หากคุณมีผู้เขียนอื่นที่ต้องการมีส่วนร่วมในเว็บไซต์ของคุณ CMS คุณสามารถตั้งค่าการเข้าถึงผู้ใช้หลายในแผงบริหาร They can just login and begin adding their content. พวกเขาก็สามารถเข้าสู่ระบบและเริ่มเพิ่มเนื้อหา

5. 5 Access from anywhere เข้า ถึงได้จากทุกที่

Authors and editors can access the site from any computer with an internet connection. ผู้เขียนและบรรณาธิการสามารถเข้าเว็บไซต์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ อินเทอร์เน็ต This means users can update the site at the same time from any location in the world. ซึ่งหมายความว่าผู้ใช้สามารถปรับปรุงเว็บไซต์ได้ในเวลาเดียวกันจากสถานที่ใด ในโลก

6. 6 Web site management panel Web site การจัดการแผง

The backend administration panel not only provides the ability to add content but also to add modules such as polls, banners, แผงบริหาร backend ไม่เพียง แต่มีความสามารถในการเพิ่มเนื้อหา แต่ยังเพิ่มโมดูลเช่นโพล, ป้าย,
forums, shopping applications, news management and menus. ฟอรั่ม, ช้อปปิ้งโปรแกรมการจัดการข่าวและเมนู

Authors can be given limited permissions to prevent them from editing content which they are not authorized to change. ผู้เขียนจะได้รับสิทธิ์ที่ จำกัด เพื่อป้องกันไม่ให้แก้ไขเนื้อหาที่พวกเขาไม่มีสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลง

7. 7 Schedule content updates กำหนดตารางการปรับปรุงเนื้อหา

Publishing content can be controlled by creating a draft first then publishing it later. เนื้อหา Publishing สามารถควบคุมด้วยการสร้างร่างแรกแล้วเผยแพร่ในภายหลัง This is handy if you need to coordinate content from multiple authors. นี้จะมีประโยชน์หากคุณต้องประสานงานเนื้อหาจากผู้เขียนหลายคน

8. 8 HTML knowledge not required HTML ไม่จำเป็นต้องรู้

A CMS site allows non-technical people to add content. เว็บไซต์ CMS ช่วยให้คนที่ไม่ใช่ทางเทคนิคเพื่อเพิ่มข้อมูล They just need to login with a user name and password then use the web editor that's built into the CMS to add their content. พวกเขาก็ต้องเข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านแล้วใช้โปรแกรมแก้ไขเว็บ ที่สร้างขึ้นใน CMS เพื่อเพิ่มเนื้อหา

9. 9 Saves time. ประหยัด เวลา

If you were using a static site to add content from multiple authors, each author would have to download the pages from the server to their computer first, update them, then upload them back to the server. หากท่านได้ใช้เว็บไซต์คงเพิ่มเนื้อหาจากผู้เขียนหลายคนผู้เขียนแต่ละจะต้อง ดาวน์โหลดหน้าจากเซิร์ฟเวอร์ที่คอมพิวเตอร์ก่อน update ให้แล้วอัปโหลดไปยังเซิร์ฟเวอร์ This would be very time consuming and could generate a lot of errors. นี้จะใช้เวลานานมากและอาจเกิดข้อผิดพลาดมาก

10. 10 Create search engine friendly pages สร้างเครื่องมือค้นหามิตรหน้า

The separation of content from design allows you to easily include keywords in the URL of each page. แยกเนื้อหาจากการออกแบบช่วยให้คุณสามารถรวมคำหลักใน URL ของแต่ละหน้า If the title of your article was “Content Management System Benefits” your URL would be written as: หากชื่อของบทความของคุณคือ"Content Management System ประโยชน์"URL ของคุณจะถูกเขียนเป็น :

http://www.domainname.com/content-management-system-benefits http://www.domainname.com/content-management-system-benefits

Some CMS sites automatically generate the correct meta tags for each web page which would help them to spidered by the search engines. บางเว็บไซต์โดยอัตโนมัติ CMS สร้างแท็ก meta ที่ถูกต้องสำหรับแต่ละหน้าเว็บที่จะช่วยให้ spidered โดยเครื่องมือค้นหา

11. 11 Attracts visitors ดึง ดูดผู้เข้าชม

A CMS site attracts visitors because it can be constantly and rapidly updated. เว็บไซต์ CMS ดึงดูดผู้เข้าชมเพราะสามารถปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ว It not only generates pages that are search engine friendly but can produce lots of links from the new content that is added and syndicated. ไม่เพียง แต่สร้างหน้าเว็บที่เครื่องมือค้นหามิตร แต่สามารถผลิตจำนวนมากเชื่อมโยงจากเนื้อหาใหม่ที่จะเพิ่มและจัดส่งเนื้อหา

12. 12 Create automatic RSS Feeds. สร้าง RSS ฟีดอัตโนมัติ

RSS or really simple syndication is integrated automatically into many CMS sites. RSS หรือเผยแพร่ง่ายมากถูกรวมโดยอัตโนมัติในเว็บไซต์ CMS หลาย Every time you create a post or make a comment it creates a feed for it. เวลาคุณสร้างโพสต์หรือให้ความคิดเห็นจะสร้างฟีดมันทุก This allows visitors with RSS Feeders to read the post at their own leisure. นี้จะช่วยให้ผู้เข้าชมด้วย RSS Feeders อ่านโพสต์ที่ว่างของตนเอง

Conclusion ข้อสรุป

A content management system is a powerful tool for businesses that want to present lots of content from multiple authors and gain lots of visitors. ระบบการจัดการเนื้อหาเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับธุรกิจที่ต้องการ นำเสนอเนื้อหาจำนวนมากจากผู้เขียนหลายคนและจำนวนมากได้รับของผู้เข้าชม It also has the capability to expand as your business grows. นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการขยายธุรกิจของคุณเติบโต

ประโยชน์จากการใช้ LMS


        1.) ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนเป็นรูปแบบและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
        2.) เป็นการสร้างคลังความรู้ เนื่องจากผู้สอนและผู้เรียนสามารถนำความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
             มาแลกเปลี่ยนกันได้ในระบบฯ
        3.) ลดช่องว่างระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนกล้าแสดงความคิดมากขึ้น
        4.) เพิ่มโอกาสทางการศึกษา ให้ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านระบบเครือข่าย Internet
        5.) ช่วยให้ผู้สอนรับรู้สถิติข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลสถิติการทำแบบทดสอบวัดความรู้ หรือข้อมูลความสนใจของเด็กต่อเรื่องที่ศึกษา
        6.) ลดจำนวนเอกสารที่เป็น Hard Copy ลงได้จำนวนมาก

 :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[ :-[

:thk1