ผู้เขียน หัวข้อ: ส่งงาน CMS LMS LCMS  (อ่าน 1700 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

weearpong54

  • บุคคลทั่วไป
ส่งงาน CMS LMS LCMS
« เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2010, 10:53:11 »
วีระพงศ์  เหง้าพันธ์    5/4      เลขที่  16
 ความ หมาย ความแตกต่าง และตัวอย่างของ CMS, LMS, LCMS
ความหมาย
1.CMS : Content Management System
2.LMS : Learning Management System
3.LCMS: Learning Content Management System

1.CMS : Content Management System
หรือระบบจัดการเนื้อหา คือระบบซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ใช้เพื่อจัดระเบียบ และส่งเสริมการทำงานในหมู่คณะ ให้สามารถสร้างเอกสาร หรือเนื้อหาสาระอื่นๆ โดยส่วนมากแล้ว ระบบจัดการเนื้อหานี้มักจะเป็นเว็บแอปพลิเคชัน ซึ่งใช้จัดการเว็บไซต์และเนื้อหาบนเว็บ และมีไม่น้อยที่ระบบจัดการเนื้อหาต้องใช้ซอฟแวร์พิเศษบนเครื่องลูกข่าย เพื่อใช้แก้ไขและสร้างบทความต่าง ๆ
ระบบจัดการเนื้อหาในตลาดซอฟแวร์คอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ทำเพื่อการค้าและแบบ โอเพนซอร์ส
เนื้อหาที่อยู่บนระบบอาจจะเป็นเนื้อหาที่เป็น ข้อความตัวอักษร ไฟล์รูปภาพ ไฟล์เสียง ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ไฟล์วิดีโอ หรือไฟล์เอกสารอื่นๆ ก็ได้ค่ะ
ระบบจัดการเนื้อหามักมีระบบการจัดการลำดับการดำเนินงานของเนื้อหาที่เรียก ว่า Workflow ซึ่งลำดับการดำเนินงานนั้นโดยมากจะประกอบไปด้วย
ขั้นตอนการนำเนื้อหาเข้าระบบ (Ingestion หรือ Creation)
ขั้นตอนการตรวจสอบเนื้อหา (Staging หรือ Approval)
ขั้นตอนการนำเนื้อหาไปเผยแพร่ (Delivery หรือ Publishing)
ระบบจัดการเนื้อหานั้นมีหลายประเภทสามารถจัดหมวดหมู่ได้เป็น
ระบบจัดการเนื้อหาเว็บ เป็นระบบที่ช่วยจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์
ระบบจัดการเนื้อหาทางธุรกรรม เป็นระบบที่ช่วยจัดการธุรกรรมสำหรับอี-คอมเมิร์ช
ระบบจัดการเนื้อหาแบบประสาน เป็นระบบที่ใช้ช่วยจัดการเอกสารและเนื้อหาภายในองค์กร
ระบบจัดการเนื้อหาสิ่งพิมพ์ ใช้สำหรับช่วยจัดการงานสิ่งพิมพ์และวงจรชีวิตของเนื้อหา เช่น เอกสารการใช้งาน หนังสือ เป็นต้น
ระบบการจัดการเรียนรู้ ใช้จัดการวงจรชีวิตของเนื้อหาสาระบนระบบเรียนรู้บนเว็บ เช่น จัดการแบบทดสอบ จัดการแบบการเรียนการสอน เป็นต้น
ระบบจัดการเอกสารที่เป็นภาพ ใช้จัดการเอกสารที่ถูกจัดเก็บในรูปแบบของรูปภาพเช่นการถ่ายสำเนาเป็นต้น
ระบบจัดการเนื้อหาระดับองค์กร เป็นระบบที่ใช้จัดการเอกสาร เนื้อหาสาระต่างๆ ภายในองค์กร อาจจะเป็นได้ทั้งระบบเว็บแอปพลิเคชันหรือเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์บนเครื่อง ลูกข่ายก็ได้
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B8%B2

2.LMS : Learning Management System
LMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS ในปัจจุบันมีให้เลือกอยู่ 2 ลักษณะคือ
1.ซอฟต์แวร์ฟรี (Open Source LMS
2.ซอฟต์แวร์ที่บริษัทเอกชนพัฒนาเพื่อขายโดยเฉพาะ (Commercial LMS)
ที่มา : http://www.cmsthailand.com/lms/index.html
ระบบ LMS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างหลากหลายอาทิ สถาบันการศึกษา ศูนย์ฝึกอบรม หน่วยงานราชการ บริษัทเอกชน โดยในการนำไปใช้งานผู้ใช้สามารถ ปรับการใช้งานให้เหมาะสมกับหน่วยงาน จุดประสงค์หลักในการพัฒนาระบบขึ้นมาก็เพื่อสร้างระบบการเรียนรู้ใช้งานใน หน่วยงานทั้งระบบ E-Learning หรือระบบ Knowledge Management(KM)
LMS ประกอบด้วย 5 ส่วนดังนี้
1.ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสามารถรองรับจำนวน user และ จำนวนบทเรียนได้ ไม่จำกัด โดยขึ้นอยู่กับ hardware/software ที่ใช้ และระบบสามารถรองรับการใช้งานภาษาไทยอย่างเต็ม รูปแบบ
2.ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) ระบบประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media
3.ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มีระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจับเวลาการทำข้อสอบและการตรวจข้อสอบ อัตโนมัติ พร้อมเฉลย รายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรียนของนักเรียน
4.ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบด้วยเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน ได้แก่ Webboard และ Chatroom โดยสามารถเก็บ History ของข้อมูลเหล่านี้ได้
5.ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System) ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ผู้สอนมีเนื้อที่เก็บข้อมูลบทเรียนเป็นของตนเอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ Admin
ที่มา : http://nongna005.multiply.com/journal/item/16
ผู้ใช้งานในระบบ LMS
สำหรับผู้ใช้งานในระบบ LMS นั้นสามารถที่จะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
กลุ่มผู้บริหารระบบ (Administrator) ทำหน้าที่ในการติดตั้งระบบ LMS การกำหนดค่าเริ่มต้นของระบบ
การสำรองฐานข้อมูล การกำหนดสิทธิ์การเป็นผู้สอน
กลุ่มอาจารย์หรือผู้สร้างเนื้อหาการเรียน (Instructor / Teacher) : ทำหน้าที่ในการเพิ่มเนื้อหา บทเรียนต่างๆ เข้าระบบ อาทิ ข้อมูลรายวิชา ใบเนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การประเมินผู้เรียนโดยใช้ข้อสอบ ปรนัย อัตนัย การให้คะแนน ตรวจสอบกิจกรรมผู้เรียน ตอบคำถาม และสนทนากับนักเรียน
กลุ่ม ผู้เรียน(Student/Guest) : หมายถึงนักเรียน นักศึกษา ที่สมัครเข้าเรียนตามหัวข้อต่าง ๆ รวมทั้งการทำแบบฝึกหัด ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้สอน โดยอาจารย์สามารถทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนได้ และสามารถตั้งรหัสผ่านในการเข้าเรียนแต่ละวิชาได้
ที่มา : http://e-learning.siamcom.co.th/e-learning2/mod/forum/discuss.php?d=2

3.LCMS: Learning Content Management System
LCMS(Learning Content Management System)คือระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ พัฒนามาจากระบบการเรียนรู้ 2 ระบบ คือ
1)ระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System:LMS)ซึ่งมีความสามารถในการนำเนื้อหาการเรียนรู้ มารวมกันเป็นกลุ่ม ๆ เรียกว่า Course แล้วนำเข้าสู่ระบบ
2)ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System:CMS)
จุดเด่นของ ระบบ คือสามารถสร้าง และจัดเก็บข้อมูลเมื่อนำความสามารถของทั้ง 2 ระบบมาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วพัฒนาต่อจนเกิด LCMS โดยมีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ คือระบบสามารถสร้างจัดเก็บ นำมา ใช้ใหม่ จัดการและเผยแผ่เนื้อหา จากฐานข้อมูลของเนื้อหาทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วย Course,Learning object, Metadata and Repository
สรุปคือ LCMS ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ อย่าง Learning object แล้วนำมาประกอบขึ้นใหม่เป็นเนื้อหาที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนแต่ ละบุคคล เหมือนกับปรัชญาการผลิตเรื่อง Just-in-time กล่าวคือส่งความรู้ในปริมาณที่เพียงพอให้ถูกบุคคล ทันเวลาเหมาะสมกับการใช้งาน แต่ระบบสามารถจัด Learning object ได้ต้องให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนการเข้าเรียน แล้วนำไปวิเคราะห์หา learning path สรุปการทำงานของระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้
ที่มา : http://nongna005.multiply.com/journal/item/16

ความแตกต่างของ CMS LMS และ LCMS
CMS เป็นระบบจัดการเนื้อหาและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูล ผู้ดูแลสามารถจัดการบริหาร เพิ่มเติมเนื้อหา ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเอง
LMS เป็นการจัดระบบการเรียนการสอนให้เกี่ยวกับผู้เรียน กิจกรรมของผู้เรียน ติดตามผลความก้าวหน้า และประเมินความสามารถของผู้เรียน
LCMS เป็นการมุ่งเน้นการนำเสนอเนื้อหา การนำเนื้อหากลับมาใช้ใหม่ เป็นการจัดการและการปรับปรุงเนื้อหาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ตัวอย่างเว็บที่สร้างจาก CMS(Content Management System)



ที่มา : http://www.cmsthailand.com/

ความหมาย
ความ หมาย LMS LCMS และ CMS
ความหมายของ CMS : Content Management System

ที่มา http://www.cmsthailand.com/a/node/4

CMS ย่อมาจาก Content Management System เป็นระบบที่นำมาช่วยในการสร้างและบริหารเว็บไซต์แบบสำเร็จรูป โดยในการใช้งาน CMS นั้นผู้ใช้งานแทบไม่ต้องมีความรู้ในด้านการเขียนโปรแกรม ก็สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ โดยที่ตัว CMS เองมีโปรแกรมประยุกต์ แบบพร้อมใช้งานอยู่ภายในมากมายอาทิ ระบบจัดการบทความและข่าวสาร(News and Story) ระบบจัดการบทวิจารณ์ (Review), ระบบจัดการสมาชิก(Mamber) ระบบสืบค้นข้อมูล(Search) ระบบจัดการไฟล์ดาวน์โหลด(Download), ระบบจัดการป้ายโฆษณา(Banner), ระบบการวิเคราะห์และตรวจสอบสถิติความนิยมในเว็บไซต์ (Analysis, Tracking and Statistics)


ความหมายของระบบการจัดการเรียนการสอน Learning Management System

ที่มา http://student.nu.ac.th/supaporn/LMS.htm

LMS ว่าเป็นคำที่ย่อมาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู้ เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ โดยที่ผู้สอนนำเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึงเนื้อหา กิจกรรมต่าง ๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อ สื่อสารได้ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบจัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถาม - ตอบ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผู้เรียนไว้บนระบบเพื่อผู้สอนสามารถนำไปวิเคราะห์ ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอย่างมีประสิทธิภาพ


ความ หมายของ Liquid Chromatography –Mass Spectrometry (LCMS)

ที่มา http://share.psu.ac.th/blog/pan5/12401

ด้วยความก้าวหน้าทางด้าน วิทยาศาสตร์และมีการพัฒนาเทคโนโลยีกันอย่างไม่หยุดยั้ง ทำให้เราต้องวิ่งตามเทคโนโลยีให้ทันด้วย สำหรับงานทางด้านวิทยาศาสตร์ก็มีการพัฒนากันอย่างรวดเร็ว เราจะได้ยินชื่อเครื่องมือใหม่ออกมาเรื่อยๆ เครื่องมือใหม่หลายๆอย่างได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อชดเชยข้อบกพร่องข้อเสียของ เครื่องมือเก่า เพื่อให้ได้สิ่งที่ดีที่สุด แต่โดยความคิดเห็นส่วนตัวแล้วทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีสองด้านเสมอ มีข้อดีและข้อเสียอยู่ในตัวจะมากหรือน้อยแตกต่างกันออกไป สำหรับเทคนิค LC-MS ก็เป็นเทคนิคการวิเคราะห์หนึ่งที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นมานานพอสมควรเพราะปัจจุบัน ได้กลายเป็น LC-MS-MS ไปนานแล้ว แต่โดยหลักการแล้วก็เหมือนๆกัน ณ ตอนนี้สำหรับผู้เขียนเอง LC-MS เป็นเรื่องใกล้ตัวเลยอยากแบ่งบันความรู้อันเล็กน้อยแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น บ้าง เพื่อที่จะได้เป็นต้นทุนสะสมในการพัฒนาสิ่งที่ดีกว่าอยู่เสมอ เมื่อ LC-MS เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตเราก็ต้องทำความรู้จักกับ LC-MS ค่ะ LC-MS เป็นเทคนิคที่ควบคู่กันระหว่างการแยกสารด้วย LC โดยใช้หลักการแยกตามคุณสมบัติทางเคมีของสารแต่ละชนิด เช่น มีขั้ว (Polar) ไม่มีขั้ว (non polar) ความเป็นกรดเบส และอาศัยเฟส 2 เฟส คือ Stationary phase คือของแข็งที่บรรจุอยู่ในคอลัมน์ กับ Mobile phase คือตัวทำละลายเคลื่อนที่หรือตัวที่นำพาสารเข้าและออกจากคอลัมน์นั้นเอง หัวใจสำคัญของการแยกสารจะอาศัยหลักการ Like Dissolves Like คือถ้าชอบที่จะอยู่กับใครก็จะอยู่กันนานๆแต่ถ้าไม่ชอบจะอยู่ด้วยก็รีบ ถ่อยออกมาก่อนประมาณนั้น หมายความว่าถ้าสารที่เราต้องการวิเคราะห์ชอบจับกับ stationary phase มากกว่า mobile phase ก็จะออกมาจากคอลัมน์ช้ากว่าสารที่ชอบที่จะอยู่กับ mobile phase แล้ว Mass Spectrometerล่ะทำงานกันอย่างไร Mass Spectrometer โดยใช้หลักการทำให้สารเกิดการแตกตัวเป็นไอออนและวัดค่ามวลต่อประจุ (m/z) ดังนั้นเมื่อนำเครื่อง LC และ เครื่อง Mass Spectrometer มาใช้ร่วมกันจะต้องมีตัวค่อยเชื่อมความสัมพันธ์ให้สามารถทำงานร่วมกันได้ ซึ่งเรียกว่าระบบ Interfaceทำไมต้องมีตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง LC กับ Mass Spectr
การแยกสารด้วย LC เป็นกระบวนการเกิดขึ้นภายใต้สภาวะบรรยากาศทั่วไป แต่กระบวนการทำงานของ Mass Spectrometer จะเกิดขึ้นภายใต้สภาวะที่เป็นสุญญากาศเท่านั้น ดังนั้นจึงมีระบบเชื่อมต่อระหว่างระบบของ LC และ Mass Spectrometer ซึ่งเรียกว่า Interface ระบบเชื่อมต่อ Interface ทำหน้าที่กำจัดตัวทำละลาย ทำให้สารที่ต้องการทดสอบอยู่ในรูปของประจุ ดังนั้นรูปแบบการ Transition จาก LC ไป Mass Spectrometer จะเปลี่ยนไปจากสถานะดังนี้ ระบบเชื่อมต่อ Interface ทำหน้าที่กำจัดตัวทำละลาย ทำให้สารที่ต้องการทดสอบอยู่ในรูปของประจุ ดังนั้นรูปแบบการ Transition จาก LC ไป Mass spectrometer จะเปลี่ยนไป
เขียนโดย สยุมภู เหมือนนิรุทธ์ ที่ 23:46
0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

บทความใหม่กว่า บทความที่เก่า กว่า หน้าแรก






ตัวอย่างเว็บที่สร้าง จาก LMS (Learning Management System )
ประโยชน์

ชุดแก้ปัญหาแบบสมบูรณ์เพื่อความไวและความสามารถในการทำซ้ำสูงสุดของ LC-MS
วัดที่โพรบ ไม่ใช่ที่สารตกค้าง: ตัวทำละลายและคอลัมน์สำหรับ HPLC ของเมอร์คใช้กับการวิเคราะห์ LC-MS ได้เหมาะสมคุ้มค่าสูงสุด

การผนวกรวมเทคนิค โครมาโตกราฟีของเหลว แบบดั้งเดิมกับ แมส สเปกโทรเมทรี (LC-MS) นั้นเป็นเครื่องมือวิเคราะห์สำคัญขั้นพื้นฐานในปัจจุบัน และต้องใช้อุปกรณ์และรีเอเจนต์จำนวนมาก วิธีการนี้ต้องใช้ทั้ง ตัว ทำละลายและคอลัมน์ HPLC มีความบริสุทธิ์สูงสุด ปราศจากร่องรอยทางอินทรีย์ และประจุโลหะมีความเข้มข้นต่ำมาก เช่น โซเดียม และโพแตสเซียม ความไม่บริสุทธิ์ของตัวทำละลายหรือ “การไล่อากาศในคอลัมน์ (column bleeding)” อาจก่อให้เกิด Mass peak แบบไม่เฉพาะเจาะจงในการวิเคราะห์ LC-MS ที่สัญญาณพื้นหลังไม่พึงประสงค์ทำให้ความไวลดลง ส่งผลให้เกิดสเปคตรัมซับซ้อนและยากต่อการทำซ้ำข้อมูลที่ได้รับและการตีความ ผล LC-MS ที่ได้
ประโยชน์ที่คุณจะได้รับ
ประหยัดเวลา    ชุดแก้ปัญหาแบบสมบูรณ์เพื่อการประยุกต์ใช้งานเกือบทุกชนิด    M4Pharma_M4Food_Eyecatcher_.jpg
ผลลัพธ์ที่สามารถทำซ้ำได้    การวิเคราะห์ LC-MS ด้วยความไวสูงสุด
ลดสัญญาณพื้นหลังที่ไม่พึงประสงค์    เพิ่มประสิทธิภาพการทำให้เป็นไอออน (ionization)

การแก้ปัญหาแบบสมบูรณ์จากเมอร์ค
เมื่อใช้ตัวทำละลาย และคอลัมน์ HPLC คุณภาพสูงของเมอร์ค คุณสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพของการวิเคราะห์ LC-MS ได้ LiChrosolv® hypergrade อยู่ในตระ...ลตัวทำละลายที่เหมาะเป็นพิเศษกับ LC-MS ตัวทำละลาย LiChrosolv® hypergrade เหมาะกับข้อกำหนดของการวิเคราะห์ LC-MS โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้ร่วมกับคอลัมน์ Purospher® และ Chromolith® HPLC ที่พิสูจน์แล้วจากเมอร์ค คอลัมน์Purospher® และ Chromolith® HPLC ผลิตจากซิลิกาบริสุทธิ์ 99.999% และปราศจากโลหะปริมาณน้อย (trace metal) ยิ่งไปกว่านั้น คอลัมน์ Chromolith® HPLC ยังให้ผลผลิตตัวอย่างรวดเร็วที่สุด การศึกษาวิจัยยืนยันว่าการใช้ตัวทำละลาย LiChrosolv® hypergrade ของเมอร์คจะลดสัญญาณพื้นหลังที่ไม่พึงประสงค์ลงได้มาก และเพิ่มประสิทธิภาพการทำให้เป็นไอออนของโมเลกุลเป้าหมาย จึงช่วยปรับปรุงทั้งความไวและความสามารถในการทำซ้ำของการวัดผล LC-MS

เมอร์คขยายความเป็นไปได้ของการใช้ LC-MS กับผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง
เมอร์คนำเสนอชุดแก้ปัญหาแบบสมบูรณ์แก่ลูกค้า สำหรับการวิเคราะห์ LC-MS พร้อมตัวทำละลายและคอลัมน์ HPLC ที่เหมาะสมที่สุดกับการใช้งานแทบทุกชนิด ยิ่งไปกว่านั้น เมอร์คยังขยายความเป็นไปได้ของการใช้ LC-MS กับผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ตัวอย่างเช่น คอลัมน์ HPLC Chromolith® FastGradient RP-18 endcapped 50-2 มิลลิเมตร แบบใหม่ ช่วยให้คุณได้ผลวิเคราะห์เร็วขึ้นในอัตราการไหลที่เหมาะสำหรับอินเตอร์เฟซ ESI และ APCI Water LiChrosolv® ที่พิสูจน์แล้ว ได้รับการทดสอบว่าเหมาะสมกับ LC-MS เช่นกัน

ด้วยผลิตภัณฑ์ HPLC จากเมอร์ค คุณจะประหยัดทั้งเวลาและเงิน: โดยจะได้รับการวิเคราะห์ทาง LC-MS พร้อมค่าความไวสูงสุด ซึ่งให้ผลลัพธ์ได้รวดเร็ว เสถียร และทำซ้ำได้มาก

ดาวน์โหลดทันที:
โปสเตอร์ “การตรวจสอบและเปรียบเทียบคุณภาพตัวทำละลายและเฟสคงที่ของ HPLC ที่มีอิทธิพลต่อพีคที่ไม่ระบุในสเปกตรัมมวล”

รายการของอาหารเลี้ยงเชื้อสั่งทำพิเศษนั้นสามารถขอได้ สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม ง่ายๆ เพียง ติดต่อ เรา


ตัวอย่างเว็บที่สร้าง จาก LCMS (Learning Content Management System)


ประเภท
เป็นธุรกิจที่เติบโตหลาย บริษัท เข้าใจว่าการจ้างใหม่จะต้องมีการฝึกอบรมให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ดีของ บริษัท ฯ และกระบวนการทางธุรกิจและพนักงานที่มีอยู่จะต้องมีการฝึกอบรมและประเมินผล ให้เส้นทางอาชีพ "Ok เราต้องการระบบการเรียนรู้"อาจกล่าวผู้จัดการฝ่ายฝึกอบรมที่สร้างขึ้นใหม่ แต่ในความเป็นจริงไม่ให้ง่าย มีหลายร้อยระบบการเรียนรู้ผู้ขายออกมีและไม่มีพวกเขาอย่างเต็มที่สามารถตอบ สนองความต้องการของคุณ ดังนั้นสิ่งที่คุณจะทำอย่างไร

ก่อนอื่นคุณต้องรู้คำศัพท์ที่มีอยู่ใน ตลาดการเรียนรู้ สิ่งที่คุณต้องการเรียกว่าอาจเป็น Learning Management System หรือ LMS นี้อาจจะสับสนมากและซื้อประเมินการเรียนรู้ระบบโดยหลากหลายวิธีการแก้ปัญหา ให้เป็น LMS สิ่งที่เรียกว่าจะ LMS ประกอบด้วยห้องเรียนและการจัดการ E - Learning, การเขียนเนื้อหาและเผยแพร่สื่อสารและความร่วมมือการประเมินและการประเมิน สมรรถนะและการจัดการประสิทธิภาพการรายงานการวิเคราะห์และการทำงานร่วมกับ HRIS / ระบบการเงิน ขณะที่ชุดพื้นฐานของคุณสมบัติ LMS คือการบริหารการจัดการเรียนรู้พาณิชย์รายงานและการวัดความปลอดภัยคุณสมบัติ HR ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเนื้อหารวมเนื้อหาและ e - Analytics เป็นคุณลักษณะขั้นสูงและไม่รวมผู้ค้าทั้งหมดลงในแพคเกจ LMS ขั้นพื้นฐาน Analytics รวมถึงประสิทธิผลประสิทธิภาพและมาตรการตาม รวมทั้งการจัดการประสิทธิภาพการทำงานที่เป็นแนวโน้มใหม่ในตลาด LMS

สองผู้ขาย LMS ระบุสามประเภทตลาด : ขนาดกลางที่ประกอบด้วย บริษัท ที่มี 1, 000-10, 000 ผู้เรียนที่อาจจะเล็กและ บริษัท ขนาดกลางธุรกิจที่มีมากกว่า 10, 000 ผู้เรียนและองค์กรทั่วโลกด้วย ตำแหน่งทั่วโลกของสำนักงาน เพื่อหาช่องและแคบรายการของผู้ขาย

สามมีหนึ่งเกณฑ์สำคัญในการคิด -- บริษัท ของคุณต้องมีระบบทรัพยากรบุคคลและดำเนินการติดตั้งที่เก็บระเบียนของพนักงาน ในสำนักงานใหญ่ของ บริษัท และสาขาในที่เดียว LMS เป็นเพียงส่วนขยายระบบดังกล่าวและฟีดจาก HRIS (และบางครั้งจากระบบการเงิน) ข้อมูลไปไปมา แต่ควรเก็บไว้ในที่เดียวเพื่อความมั่นคง

อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ LMS ทั่วไปไม่จำเป็นต้องอยู่ที่สำคัญในการสร้างจัดการและดูแลระบบการเรียนรู้ เนื้อหา หากตอบคำถามของคุณเกี่ยวกับวิธีการเข้าหลักสูตรที่มีอยู่จากสื่อต่างคือ"คุณ ไม่สามารถยกเว้นว่าจะถูก SCORM compliant! "และคุณมีความคิดว่าว่าหมายถึงแล้วคุณอาจมีการสร้างหลักสูตรทั้งหมดของคุณ จากรอยขีดข่วนไม่มี Packages เช่น MS PowerPoint และ MS Word, i. e. ทุกที่ที่แผนกฝึกอบรมมักจะใช้ในการสร้างสื่อการเรียนรู้ไม่สนับสนุนใด มาตรฐานการเรียนรู้ที่มีอยู่ คุณจึงจำเป็นต้องมีเครื่องมือสร้างหลักสูตร นี้ระดับใหม่ของการเรียนรู้ผลิตภัณฑ์เรียกว่า Learning Content Management System และเป็นที่ซื้อร่วมกับ LMS LMS และ LCMS ไม่เหมือนกัน ให้ฉันอธิบาย ผู้เรียนเข้าเว็บพอร์ทัลเช่น portal ที่เชื่อมโยงผู้เรียนในหน้าเว็บที่สร้างโดย LMS ที่ผู้เรียนสามารถเลือกหลักสูตร หลักสูตรที่สร้างขึ้นโดย LCMS แต่ส่งโดย LMS ดังนั้นถ้าคุณมี LCMS ไม่มีคุณอาจต้องซื้อจากผู้ขายหรือหลักสูตรหรือหลักสูตรไม่ได้ นั่นคือเหตุผลที่คุณต้องให้แน่ใจว่า LCMS เป็นจริงส่วนหนึ่งของ LMS ซื้อของคุณและไม่เป็นผลิตภัณฑ์แยก การจัดการเนื้อหาที่กล่าวถึงเป็นส่วนหนึ่งของ LMS พื้นฐานไม่เหมือน LCMS เนื่องจาก deals หลังด้วยการสร้างการจัดเก็บและนำเสนอเนื้อหาการเรียนรู้ส่วนบุคคล การจัดการเนื้อหาในทางเกี่ยวกับการจัดเก็บและทำดัชนีข้อมูลสำหรับการค้นหา




ออฟไลน์ FrankJScott

  • นักศึกษา
  • ****
  • กระทู้: 176
  • สวัสดี
    • ดูรายละเอียด
Top Product Site
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันที่ 04 พฤศจิกายน 2023, 06:24:29 »
Please try Google before asking about Useful Product Blog 597c8da