ผู้เขียน หัวข้อ: Linux Command คำสั่งที่ใช้งานกับ Linux หรือ ระบบ Unix  (อ่าน 8202 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

plaza

  • บุคคลทั่วไป
Linux Command คำสั่งที่ใช้งานกับ Linux หรือ ระบบ Unix
« เมื่อ: วันที่ 23 กรกฎาคม 2010, 08:01:04 »
คำสั่งยูนิกส์ Command Line (Linux ตอนที่1)

ls
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดงแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับ dirของDOS) มากจากคำว่า list
รูปแบบคำสั่ง ls [option] [file]
option ที่มักใช้กันใน ls คือ
-l จะแสดงผลลัพธ์แบบ Long Format ซึ่งจะแสดง Permission ของแฟ้มด้วย
-a จะแสดงแฟ้มข้อมูลทั้งหมด
-F จะแสดง / หลัง Directory และ * หลังแฟ้มข้อมูลที่ execute ได้
ตัวอย่างการใช้งาน  ls –l     ls -al     ls -F

adduser
คำสั่งเพิ่ม User ให้กับระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน adduser -g (group) -d (Directory) (User)
ตัวอย่าง adduser -g root -d /home/user1 user สร้าง User ชื่อ Login คือ user1 เป็นสมาชิกในกลุ่ม root

useradd
คำสั่งเพิ่ม User ให้กับระบบ Unix,Linux (ใช้เหมือนกับคำสั่ง adduser)
รูบแบบการใช้งาน useradd -g (group) -d (Directory) (User)
ตัวอย่าง useradd -g root -d /home/user1 user สร้าง User ชื่อ Login คือ user1 เป็นสมาชิกในกลุ่ม root

userdel
คำสั่งลบ User ออกจากระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน userdel [option] (Username)
ตัวอย่าง userdel -r root user1 ลบ User ชื่อ Login คือ User1 และ -r คือให้ลบ Home Directoryของ User1 ด้วย
passwd
คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน passwd [Username]
ตัวอย่าง passwd user1 (กำหนดรหัสผ่านให้ User1 ถ้าไม่พิมพ์ ชื่อ User ระบบUnixจะหมายความว่าแก้ไขรหัสผ่าน
ของคนที่Loginเข้ามา)

alias
คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่ง SETในDOSแต่สามารถใช้เปฝ้นคำสั่ง RUNได้)
รูบแบบการใช้งาน alias [ชื่อใหม่=ข้อความ]
ตัวอย่าง alias copy=cp กำหนดให้พิมพ์ copy แทนคำสั่ง cpได้

bash
คำสั่งเรียกใช้ Bourne again shellของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน bash
ตัวอย่าง bash [Enter] ( เรียกใช้ Bourne again shell)

bc
คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]
ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก
หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน

cp
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับสำเนาแฟ้มข้อมูล (เช่นเดียวกับcopyของDOS) มาจากคำว่า copy
รูปแบบคำสั่ง cp source target
ตัวอย่างการใช้งาน #cp test.txt /home/user1

cal
คำสั่งแสดงปฏิทินของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน cal
ตัวอย่าง cal [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินเดือน ปัจจุบัน)
cal -y [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินปี ปัจจุบัน)

cat
คำสั่งแสดงข้อความในFileของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งTypeของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cat
ตัวอย่าง cat /home/user1 | more อ่านข้อมูลจากไฟล์/home/user1ถ้ายาวเกินหน้าให้หยุดทีละหน้าจอ

C Compiler
คำสั่งCompile ภาษาCของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งTypeของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cc [filename]
ตัวอย่าง cc /home/user1/industry.c จะสั่งให้ระบบCompile ภาษาC ไฟล์ชื่อ industry.c ที่ Directory /home/user1

cd
คำสั่งChange Directoryของระบบ Unix,Linux (คล้ายกับคำสั่งCDของDOS)
รูบแบบการใช้งาน cd [directory]
ตัวอย่าง cd /etc [Enter]ไปDirectory etc
cd ..[Enter] ย้ายไปDirectoryอีก1ชั้น

chfin
คำสั่งChange your finger informationของระบบ Unix,Linux (เป็นการกำหนดข้อมูลของUser
เช่น ชื่อเต็ม ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์)
รูบแบบการใช้งาน chfn [username]
ตัวอย่าง chfn User1 กำหนดรายละเอียดUser1

chgrp
คำสั่งChange Groupของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์)
รูบแบบการใช้งาน chgrp [-chfRv] (Group) (File)
ตัวอย่าง chgrp root /root/* เปลี่ยนGroupให้กับไฟล์ทุกไฟล์ในไดเรคทอรี่ /root ให้เป็น Group root

chmod
คำสั่งChange Modeของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนสิทธิการเข้าถึงไฟล์)
รูบแบบการใช้งาน chmod [สิทธิ] (File)
ตัวอย่าง กำหนดสิทธิให้กับไฟล์ชื่อtest คือ chmod 754 test หรือ chmod go +r-w testให้กับไฟล์ทุกไฟล์ chmod o-r *
ตัวเลขMode rwx = 7 ; rw - =6 ; r-x =5 ; r- - = 4 ; - wx = 3 ; - w - = 2 ; - - x = 1 ; - - = 0
การกำหนดสิทธิกำหนดได้2ลักษณะคือ
1.กำหนดโดยใช้อักษรย่อกลุ่ม
2.ใช้รหัสเลขฐาน2แทนสิทธิ (1 คืออนุญาต)
กลุ่มผู้ใช้ User Group Other = ugo เช่น go-r-w+x คือกลุ่ม และคนอื่นไม่มีสิทธิอ่านเขียนแต่Runได้
สิทธิ์การใช้ -rwx rwx rwx = Read Write Execute
รหัสเลขฐาน 111 101 100 = 754 คือเจ้าของไฟล์ใช้ได้ครบ คน Group เดียวกันอ่านExecuteได้นอกนั้นอ่านได้อย่างเดียว

chown
คำสั่งChange Ownerของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์)
รูบแบบการใช้งาน chown [ซื่อเจ้าของไฟล์] (ชื่อFile)
ตัวอย่าง chown user1 filename คือเปลี่ยนเจ้าของไฟล์ชื่อ filename เป็นUser1
chown -R user1.root dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname.

chsh
คำสั่งchshของระบบ Unix,Linux (เป็นการเปลี่ยนShell ให้ User)
รูบแบบการใช้งาน chsh [Username]
ตัวอย่าง chsh user1 [Enter] /bin/bash [Enter]

clear
คำสั่งclearของระบบ Unix,Linux (เป็นการลบข้อความบนจอภาพ คล้ายกับคำสั่ง clsใน dos)
รูบแบบการใช้งาน clear
ตัวอย่าง clear [Enter]

cal
คำสั่งแสดงปฏิทินของระบบ Unix,Linux
รูบแบบการใช้งาน cal
ตัวอย่าง cal [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินเดือน ปัจจุบัน)
cal -y [Enter](สั่งให้ระบบแสดง ปฏิทินปี ปัจจุบัน)

mesg
mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้

date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
ตัวอย่าง date 17 May 2004

df
คำสั่งdf ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)
รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]
ตัวอย่าง df [Enter]

dmesg
คำสั่งdmesgของระบบ Unix,Linux (เป็นการให้แสดงผลเหมือนตอน Boot)
รูบแบบการใช้งาน dmesg
ตัวอย่าง dmesg | more [Enter]
หมายเหตุ คำสั่งนี้ ใช้ตรวจสอบ เมื่อเกิดปัญหา เช่น Linux ไม่รู้จัก Driver CD-Rom หรือปัญหาอื่นๆ

echo
คำสั่งechoของระบบ Unix,Linux (เป็นการให้แสดงข้อความ เหมือนกับ ECHOของDOS)
รูบแบบการใช้งาน echo (ข้อความที่ต้องการให้แสดงผล)
ตัวอย่าง echo my name is user1
echo Hello > /dev/tty2 ส่งข้อความ Hello ไปออกจอเทอร์มินอลที่2
ed
คำสั่ง ed ของระบบ Unix,Linux (โปรแกรมแก้ไขข้อความใน Text file เหมือนกับคำสั่ง edlinของDOS)
รูบแบบการใช้งาน ed (fileName)
ตัวอย่าง ed /home/user/test (ออกกดq)
สำหรับคนที่ไม่ถนัดคำสั่งนี้แนะนำให้ใช้คำสั่ง picoหรือvi หรือemacsแทนได้เช่นกัน

emacs
คำสั่ง emacs ของระบบ Unix,Linux (โปรแกรมแก้ไขข้อความใน Text file )
รูบแบบการใช้งาน emacs (fileName)
ตัวอย่าง emacs /home/user/test (help กด Ctrl - h ; ออกกด Ctrl - x Ctrl - c)

exit
คำสั่ง exit ของระบบ Unix,Linux (ออกจากระบบยูนิกส์ )
รูบแบบการใช้งาน exit
ตัวอย่าง exit

finger
คำสั่ง finger ของระบบ Unix,Linux (แสดงชื่อUserที่กำลังLoginเข้ามาแต่คำสั่ง Whoจะให้รายละเอียดดีกว่า)
รูบแบบการใช้งาน finger [username]
ตัวอย่าง finger user1 แสดงชื่อและรายละเอียด user1

fsck
คำสั่ง fsck ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่ง ตรวจสอบและซ่อมแซม Linux file system เหมือนกับ
คำสั่งScandisk ของDos)
รูบแบบการใช้งาน fsck [option]
ตัวอย่าง /sbin/fsck -a /dev/hd1

ftp
คำสั่ง ftp ของระบบ Unix,Linux (เป็นโปรแกรมรับ-ส่งไฟล์ )
รูบแบบการใช้งาน ftp (IP or Name of FTP Server )
ตัวอย่าง ftp 132.209.1.2 [Enter]

Login:anonymous , Password: Username@YourDomain.com
คำสั่งที่เกี่ยวข้อง ls - ดูไฟล์ ; pwd -ดูdir. ที่อยู่ ;cd - เปลี่ยน dir ;lcd - เปลี่ยน local dir ;mput* -ส่งไฟล์ ;mget – รับ
ไฟล์ ;bye - ออก

grep
คำสั่ง grep ของระบบ Unix,Linux (เป็นการสั่งให้ค้นหาตามเงื่อนไข )
รูบแบบการใช้งาน grep (option)
ตัวอย่าง grep -i ftp /etc/test ค้นหาบรรทัดที่มีคำว่า "ftp"ไม่สนใจพิมพ์เล็ก-ใหญ่ จาดไฟล์ /etc/test

groupadd
คำสั่ง groupadd ของระบบ Unix,Linux (เป็นการเพิ่มรายชื่อกลุ่มของ User)
รูบแบบการใช้งาน groupadd (GroupName )
ตัวอย่าง #groupadd staff สร้างกลุ่มของ User ชื่อ Staff เพิ่มให้ระบบ

groupdel
คำสั่ง groupdel ของระบบ Unix,Linux (เป็นการลบรายชื่อกลุ่มของ User)
รูบแบบการใช้งาน groupadd (GroupName )
ตัวอย่าง #groupdel staff ลบกลุ่มของ User ชื่อ Staffออกจากระบบ

gzip/gunzip
คำสั่งgzip/gunzipของระบบ Unix,Linux (เป็นการบีบอัดไฟล์หรือขยายบีบอัดไฟล์)
รูบแบบการใช้งาน gzipหรือgunzip (-cdfhlLnNrtv19 ) [file]
ตัวอย่าง #gzip -9vr /home/samba/* บีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ ในSub /home/samba จะเปลี่ยนเป็นนามสุกล .gz
#gunzip -dvr /home/samba/* คลายการบีบอัดไฟล์ข้อมูลทุกไฟล์ที่สกุล .gz ในSub /home/samba

halt
คำสั่ง halt ของระบบ Unix,Linux (เป็นการสั่งให้เครื่องหยุดทำงาน)
รูบแบบการใช้งาน halt [-n] [-w] [-d] [-f] [-I] [-p]
ตัวอย่าง #halt
คำสั่งที่เกี่ยวข้อง คือ Shutdown ; init0 , reboot

history
คำสั่ง history ของระบบ Unix,Linux (เป็นการดูประวัติการใช้คำสั่งในCommand line คล้ายกับ
การกดF7ในDOSคือเรียกใช้คำสั่งDos key)
รูบแบบการใช้งานhistory [n] [-r wan [filename] ]
ตัวอย่าง #history 20 ดูคำสั่งที่เพิ่งใช้ไป20คำสั่งที่แล้ว

ifconfig
คำสั่ง history ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบกำหนดค่าNetworkของLan Card)
รูบแบบการใช้งาน ifconfig [option]
ตัวอย่าง #ifconfig

ipchains
คำสั่ง ipchains ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)
รูบแบบการใช้งาน ipchains [parameter] command [option]
ตัวอย่าง #ipchains -L ดูสถานะการ Set IPchainsในปัจจุบัน

jobs
คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)
รูบแบบการใช้งาน jobs
ตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

kill
คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process)
รูบแบบการใช้งาน kill [option] (process ID)
ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ
Kill -9

login
คำสั่ง login ของระบบ nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
Unix,Linux (เป็นคำสั่งการเข้าระบบหรือเปลี่ยน User Login) รูบแบบการใช้งาน login [fp] (UserName)
ตัวอย่าง #login:root

mkdir
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการสร้าง directory (ในทำนองเดียวกับ dos) มาจากคำว่า make directory
รูปแบบของคำสั่งmkdir mkdir [option] [file]
โดย option ที่มักใช้กันใน mkdir คือ
-m จะทำการกำหนด Permissioin (ให้ดูคำสั่ง chmod เพิ่มเติม)
-p จะทำการสร้าง Parent Directory ให้ด้วยกรณีที่ยังไม่มีการระบุ directory ในที่นี้อาจเป็น relative
หรือ absolute path ก็ได้
ตัวอย่าง
mkdir /home
mkdir -p -m755 ~/้home/user1

mv
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับการย้ายแฟ้มข้อมูลและ Directory รวมถึงการเปลี่ยนชื่อด้วย (ในทำนองเดียวกับ dos)
มาจากคำว่า move
รูปแบบคำสั่ง mv source target
ตัวอย่าง mv *.tar /backup
mv test.txt old.txt
mv bin oldbin

more
คล้ายกับคำสั่ง cat ไม่เหมาะกับการดูข้อมูลที่มีความยาวมากๆ ดังนั้น จึงได้มีการพัฒนา more ขึ้น
เพื่อช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดยาวได้เป็นช่วงๆ
รูปแบบคำสั่ง more file
ภายในโปรแกรม more จะมีคำสั่งเพื่อใช้งานคราวๆ ดังนี้
= แสดงเลขบรรทัด
q ออกจากโปรแกรม
เลื่อนไปยังหน้าถัดไป เลื่อนไปยังบรรทัดถัดไป
h แสดง help
ตัวอย่าง more test.txt

man
คำสั่ง man ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งแสดงข้อความ อธิบายการใช้คำสั่ง)
รูบแบบการใช้งานman (Command)
ตัวอย่าง #man ls
หมายเหตุ เมื่อต้องการออก กด q ;-b|-k|-m]
โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ
-b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte
-k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte
-m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyte
ตัวอย่าง free     free –b  free -k

pwd
เป็นคำสั่งที่ใช้สำหรับแสดง Directory ปัจจุบัน (ในทำนองเดียวกับการพิมพ์ cd บน DOS) มาจากคำว่า print work directory
รูปแบบคำสั่ง / ตัวอย่าง pwd

uname
คำสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง
ตัวอย่าง uname -a

hostname
คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
ตัวอย่าง hostname

tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
ตัวอย่าง tty

id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน
ต้วอย่าง id

ที่มา : ensthai.com

=============================

ls     ใช้ลิสต์ดูข้อมูล
ls   -al    ใช้ลิสต์ดูข้อมูลแบบละเอียด
pwd    ดูพาทที่อยู่ในปัจจุบัน
cd  /etc    เข้าไปในห้อง etc
cd ..    ถอยกลับ 1 ระดับ
cd \    กลับไดเร็กทอรีหลัก
mkdir  data1
mkdir  sys    สร้างไดเร็กทอรี data1
สร้างไดเร็กทอรี sys
rm -rm data1    ลบไดเร็กทอรี data1
     
การจัดการไฟล์และไดเร็กทอรี    
การสร้างไฟล์
วิธีที่ 1    
cat > admin.sh
xxxxxxxxx พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
กด Crtl+D เพื่อบันทึกและออก
   สร้างไฟล์ชื่อว่า admin.sh
cat admin.sh    ดูรายละเอียดในไฟล์ admin.sh
cat  /etc/passwd    ดูรายละเอียดในไฟล์ passwd ในไดเร็กทอรี etc
cat >> admin.sh
พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
กด Crtl+D เพื่อบันทึกและออก    พิมพ์ข้อความต่อท้ายไฟล์ admin.sh
     
วิธีที่ 2    
vi  member.txt
กดปุ่ม i เพื่อแทรก
พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxx
กดปุ่ม ESC
กดปุ่ม
: wq    บันทึกและออก
:w       บันทึก
:q        ออกไม่บันทึก
:wq!    บันทึกไฟล์ที่เป็น read-only

   
     
cp member.txt   member2.txt    คัดลอกไฟล์ member.txt เป็น member2.txt
cp member.txt  /sys    คัดลอกไฟล์ member.txt ไว้ในไดเร็กทอรี sys
mv member.txt  /sys    ย้ายไฟล์ member.txt ไว้ในไดเร็กทอรี sys
rm member2.txt    ลบไฟล์ member2.txt
     
history    ดูประวัติการใช้คำสั่ง
cat /root/.bash_history    ไฟล์เก็บคำสั่งการทำงาน
 
การบริหารบัญชีผู้ใช้    
การสร้างกลุ่มผู้ใช้    
# groupadd  staff       สร้างกลุ่มผู้ใช้ชื่อว่า staff
# groupadd  std    สร้างกลุ่มผู้ใช้ชื่อว่า std
# cat  /etc/group    ดูชื่อกลุ่มผู้ใช้ที่สร้างแล้ว
     
การเพิ่มบัญชีผู้ใช้    
# useradd  arnut  -g  staff    เพิ่มผู้ใช้ชื่อ arnut ไว้ในกลุ่ม staff
# useradd  bee  -g  std    เพิ่มผู้ใช้ชื่อ bee ไว้ในกลุ่ม std
# passwd  arnut [enter]
xxxx ป้อนรหัสผ่าน
xxxx ยืนยันรหัสผ่าน    กำหนดรหัสผ่านให้ผู้ใช้ชื่อ arnut
# cat  /etc/passwd
   ดูรายชื่อผู้ใช้ที่เพิ่มแล้ว
# cat   /etc/shadow    ไฟล์เก็บรหัสผ่าน
# ls  /home    ดูห้องเก็บข้อมูลผู้ใช้
การเพิ่มผู้ใช้แบบพิเศษ
# useradd  -g  hrd  -s  /bin/false -c "Mr.Peter" peter

hrd เป็นชื่อกลุ่ม
perter เป็นชื่อบัญชีผู้ใช้

   
การลบบัญชีผู้ใช้ออกจากระบบ    
# userdel  arnut    ลบบัญชีผู้ใช้ชื่อ arnut ไม่ลบ home directory
# userdel  -r  arnut    ลบบัญชีผู้ใช้ชื่อ arnut ลบ home directory ด้วย
     
การเปลี่ยนโหมดไฟล์    
# ls -al    ดูรายละเอียดโหมดไฟล์
-
   
rwx
   
rwx
   
rwx
   
u
   
g
   
o

- เป็นไฟล์หรือไดเร็กทอรี
r = read อ่านได้
w = write เขียนได้
x = Execute คอมไพล์ได้
u = user เจ้าของไฟล์ (Owner)
g = group บุคคภายในกลุ่ม
o = other บุคคลภายนอก
a = ugo    มีทั้งหมด 10 หลัก
สามารถทำได้ 2 รูปแบบ    
แบบที่ 1 การอ้างจากกลุ่มโดยตรง

   
chmod  ug+x test1.pl    เพิ่มสิทธิให้เจ้าของไฟล์และบุคคลในกลุ่มสามารถคอมไพล์ได้
chmod a+x test1.pl    ให้ทุกคนสามารถรันไฟล์ได้
     
แบบที่ 2 แบบเลขฐานสอง    
-
   
rwx
   
rwx
   
rwx
   
u
   
g
   
o
1 = - -x
2 = -w-
3 = -wx
4 = r- -
5 = r-x
6 = rw-
7 = rwx

   
chmod 755 test.pl    เจ้าของไฟล์สามารถทำได้ทุกอย่าง บุคคลในกลุ่มและบุคคลภายนอกสามารถ
chmod 666 config.php    ให้ทุกคนสามารถอ่านและเขียนไฟล์ได้
     
     
การเปลี่ยนชื่อเจ้าของไฟล์    
# chown  bee data    ให้ bee เป็นเจ้าของไดเร็กทอรี data
     
     
การเปลี่ยนกลุ่มผู้ใช้ (Chgre)    
รูปแบบ
chgrp groupname text.txt option
เช่น
chgrp   staff   test1.txt
   
     
     
การจัดการ Process    
# ps   -aux    ดูโปรเซสระบบ
# kill  -9   3452    ตัดโปรเซสหมายเลข 3452 ออกจากระบบ
     
คำสั่งจัดการ Package    
RPM = RedHat Package Management    
rpm  -q httpd    ตรวจสอบแพกเก็จ Apache Web Server ว่าถูกติดตั้งหรือยัง
rpm  -ql httpd |more
หรือ
rpm  -ql httpd |less

    ตรวจสอบแพ็กเกจแบบละเอียด
rpm  -i  mc-version    ติดตั้งแพ็กเกจ
rpm  -ivh  mc-version     ติดตั้งแพ็กเกจ พร้อมดูขั้นตอนติดตั้ง
rpm  -Uvh  httpd-version     อัปเกรดแพ็กเกจ
rpm -ivh --nodeps httpd-version    ติดตั้งแบบไม่สนใจ
     
การติดตั้งไฟล์ .tar.gz
# tar -zxvf ชื่อแพ็กเกจ.tar.gz   < แตกไฟล์
# cd ชื่อแพ็กเกจ  < เข้าไปในไดเร็กทอรี
# ls  < ดูข้อมูล
# ./configure
# make
# make install

หรือสามารถติดตั้งโดยใช้คำสั่ง
# gzip -cd ชื่อแพ็กเกจ.tar.gz | tar xvf  -

===================================

ห้องเก็บข้อมูลต่างๆ ของ Linux
 
/    ไดเร็กทอรีราก
/bin    เก็บคำสั่งที่ต้องการให้ผู้ใช้ใช้งาน
/boot    เก็บแฟ้มที่จำเป็นในการบู๊ต
/dev    เก็บรายชื่ออุปกรณ์
/etc    เก็บค่าคอนฟิกไฟล์ของระบบ
/home    เก็บไดเร็กทอรีของผู้ใช้หลังจากเราเพิ่มผู้ใช้เข้าระบบ
/lib    เก็บไฟล์ไลบารี
/mnt    ที่เก็บข้อมูลชั่วคราวหลังการ mount
/opt    ไดเร็กทอรีเสริม ไว้สำหรับติดตั้งซอฟต์แวร์ทางการค้า
/proc    ไดเร็กทอรีโปรเซสที่กำลังรันอยู่
/root    ไดเร็กทอรีหลักของผู้ดูแลระบบ (root)
/sbin    เก็บคำสั่งของ root
/tmp    เก็บแฟ้มชั่วคราวสำหรับผู้ใช้
/usr    ไดเร็กทอรีนี้จะอ่านได้อย่างเดียว
/var    เก็บเว็บไซต์องค์กร, Mailbox, Log Files ต่างๆ
 
การ Mount อุปกรณ์
การ Mount CD-ROM
# mount  /dev/cdrom   /mnt/cdrom   
# cd  /mnt/cdrom
# ls

การยกเลิกการ Mount CD-ROM
# cd  \
# umount  /dev/cdrom
# eject
----------------------------------------------
การ Mount Floppy Disk
# mount  /dev/fd0   /mnt/floppy
# cd  /mnt/floppy     เข้าใช้งาน
# ls    ตรวจสอบข้อมูล

การยกเลิกการ Mount Floppy Disk
# cd  \
# umount  /dev/fd0
-----------------------------------------------
การ Mount Handy Drive
# mkdir  /mnt/handy    สร้างห้องเก็บก่อนเพราะระบบยังไม่ได้สร้างให้
# mount  /dev/sda1  -t  vfat  /dev/handy   กรณีเสียบที่พอร์ต 1
# mount  /dev/sdb1  -t  vfat  /dev/handy   กรณีเสียบที่พอร์ต 2
# cd  /mnt/handy
# ls

การยกเลิกการ Mount Handy Drive
# cd  \
# umount  /dev/sda1

------------------------------------------------------------
การ Mount CD-ROM บน SuSE Linux 9.x
# mkdir   /mnt/cdrom     < สร้างห้องเก็บไฟล์ชั่วคราว ทำครั้งเดียวก็พอ
# mount  /dev/hdd   /mnt/cdrom
# cd  /mnt/cdrom
# cd suse/i586
# ls
---------------------------------------------
การดูรายชื่ออุปกรณ์
# df

=================================================

การปรับแต่ง TCP/IP
1. ไฟล์ hosts
# vi  /etc/hosts
127.0.0.1   localhost.localdomain    localhost
192.168.10.1   www.company1.com   www
 
2. ไฟล์ host.conf
# vi  /etc/host.conf
order host,bind
multi  on                         เพิ่มเข้าไปเอง
 
3. ไฟล์ resolv.conf
# vi  /etc/resolv.conf
search  company1.com
namserver 202.44.144.33          ใส่ DNS ของศูนย์บริการที่ใช้งานอยู่
namserver 202.44.144.34
 
4. ไฟล์ network
# vi  /etc/sysconfig/network
NETWORKING=yes
HOSTNAME=www.company1.com   
GATEWAY=192.168.10.1    หมายเลข Gateway
 
5. ไฟล์ ifcfg-eth0
# vi   /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth0
DEVICE=eth0
BOOTPROTO=static
BROADCAST=192.168.10.255
IPADDR=192.168.10.1     หมายเลขไอพีแอดเดรส
NETMASK=255.255.255.0
NETWORK=192.168.10.0
ONBOOT=yes
 
หลังจากปรับเสร็จหมดแล้วให้พิมพ์คำสั่งตรวจดังนี้
# service  network  restart     รีสต๊าท LAN Card
# service network stop           ปิดการใช้งาน LAN Card
# service network start           เปิดการใช้งาน LAN Card
 
 
 
คำสั่งอื่นอื่นที่เกี่ยวข้อง
# ifconfig   ตรวจสอบ LAN Card
# route    ดูตาราง Routing table
# ifdown  eth0   ปิดการใช้งาน LAN Card
# ifup eth0    เปิดการใช้งาน LAN Card

ping (Package Internet Gopher) ใช้สำหรับทดสอบการเชื่อมต่อเครืองคอมพิวเตอร์ปลายทางว่าเปิดอยู่หรือไม่
# ping 192.168.10.1 < ทดสอบ ip address
# ping www     < ทดสอบ hostname
# ping www.company1.com     < ทดสอบโดเมนเนม
# ping www.yahoo.com   < ทดสอบโดเมนภายนอก
 
การเพิ่ม IP Address บนเครื่อง (LAN Card ใบเดียวมีหลาย IP)
# ifconfig eth0 192.168.10.2  netmask 255.255.255.0  up
# ifconfig    ดูผล

การตรวจสอบหมายเลข MAC Address
# ip link show