ผู้เขียน หัวข้อ: ส่งงาน CMS LMS LCMS  (อ่าน 1871 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

mailza5.4

  • บุคคลทั่วไป
ส่งงาน CMS LMS LCMS
« เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2010, 11:00:28 »
นางสาว เมริซ่า แวลกราส
ชั้น ม.5/4 เลขที่ 20

CMS คืออะไร

ความหมาย ของ Content Management System (CMS)

ระบบการจัดการเนื้อหาของ เว็บไซต์(Content Management System : CMS) คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้น มาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ใน การสร้างและควบคุมดูแลไซต์โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนำเอา ภาษาสคริปต์(Script languages) ต่างๆมาใช้ เพื่อให้ วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็น PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษา อื่นๆ(แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ่งมักต้อง ใช้ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์(เช่น Apache) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์(เช่น MySQL)

ลักษณะเด่นของ CMS ก็คือ มีส่วนของ Administration panel(เมนูผู้ควบคุมระบบ) ที่ใช้ใน การบริหารจัดการส่วนการทำงานต่างๆในเว็บไซต์ ทำให้ สามารถบริหารจัดการเนื้อหาได้อย่างรวดเร็ว และเน้นที่การ จัดการระบบผ่านเว็บ(Web interface) ในลักษณะ รูปแบบของ ระบบเว็บท่า(Portal Systems) โดย ตัวอย่างของฟังก์ชันการทำงาน ได้แก่ การนำเสนอบทความ(Articles), เว็บไดเรคทอ รี(Web directory), เผยแพร่ข่าวสารต่างๆ(News), หัวข้อข่าว(Headline), รายงานสภาพ ดินฟ้าอากาศ(Weather), ข้อมูลข่าว สารที่น่าสนใจ(Informations), ถาม/ตอบ ปัญหา(FAQs), ห้องสนทนา(Chat), กระดานข่าว(Forums), การจัดการ ไฟล์ในส่วนดาวน์โหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ข้อมูล สถิติต่างๆ(Statistics) และส่วน อื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไขแล้ว ประยุกต์นำมาใช้งานให้เหมาะสมตามแต่รูปแบบและประเภทของเว็บไซต์นั้นๆ

CMS หมายถึง
CMS คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนำเอา ภาษาสคริปต์(Script languages) ต่างๆมาใช้ เพื่อให้วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็น PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ(แล้วแต่ความถนัดของผู้พัฒนา) ซึ่งมักต้องใช้ควบคู่กันกับโปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์(เช่น Apache) และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์(เช่น MySQL) ลักษณะเด่นของ CMS ก็คือ มีส่วนของ Administration panel(เมนูผู้ควบคุมระบบ) ที่ใช้ในการบริหารจัดการส่วนการทำงานต่างๆในเว็บไซต์ ทำให้สามารถบริหารจัดการเนื้อหาได้อย่างรวดเร็ว และเน้นที่การ จัดการระบบผ่านเว็บ(Web interface) ในลักษณะรูปแบบของ ระบบเว็บท่า(Portal Systems) โดยตัวอย่างของฟังก์ชันการทำงาน ได้แก่ การนำเสนอบทความ(Articles), เว็บไดเรคทอรี(Web directory), เผยแพร่ข่าวสารต่างๆ(News), หัวข้อข่าว(Headline), รายงานสภาพดินฟ้าอากาศ(Weather), ข้อมูลข่าวสารที่น่าสนใจ(Informations), ถาม/ตอบปัญหา(FAQs), ห้องสนทนา(Chat), กระดานข่าว(Forums), การจัดการไฟล์ในส่วนดาวน์โหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ข้อมูลสถิติต่างๆ(Statistics) และส่วนอื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง แก้ไขแล้วประยุกต์นำมาใช้งานให้เหมาะสมตามแต่รูปแบบและประเภทของเว็บไซ ต์นั้นๆ
ที่มา http://www.mindphp.com/modules.php?name=News&file=article&sid=51

LMS หมายถึง

LMS คือเน้นที่การใช้เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียนปกติและใน ห้องเรียนเสมือน เพื่อช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ WBI เน้นการนำเสนอเนื้อหาของรายวิชาทางเว็บ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนได้ตามศักยภาพของผู้เรียน Virtual Classroom เน้นการจัดกิจกรรมในเว็บที่จำลองกิจกรรมต่างๆ ให้เหมือนหรือใกล้เคียงกับห้องเรียนปกติLMS ย่อมาจาก Learning Management System เป็นระบบที่ใช้บริหารจัดการการเรียนรู้ที่อำนวยความสะดวกในการจัดกลุ่ม เนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ การสื่อสารโต้ตอบระหว่างผู้สอน (Instructor/Teacher) กับผู้เรียน(Student) รวมทั้งการสร้างแบบทดสอบ การทดสอบและการประเมินผลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยโปรแกรมที่ใช้สร้างระบบ LMS

 LCMS หมายถึง

LCMS (Learning Content Management System ) คือระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ พัฒนามาจากระบบการเรียนรู้ 2 ระบบ คือ
1) ระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ซึ่งมีความสามารถในการนำเนื้อหาการเรียนรู้ มารวมกันเป็นกลุ่ม ๆ เรียกว่า Course แล้วนำเข้าสู่ระบบ
2) ระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS)
จุดเด่นของระบบ คือสามารถสร้าง และจัดเก็บข้อมูลเมื่อนำความสามารถของทั้ง 2 ระบบมาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วพัฒนาต่อจนเกิด LCMS โดยมีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ คือระบบสามารถสร้างจัดเก็บ นำมา ใช้ใหม่ จัดการและเผยแผ่เนื้อหา จากฐานข้อมูลของเนื้อหาทั้งหมด ซึ่งประกอบไปด้วย Course,Learning object, Metadata and Repository
สรุปคือ LCMS ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อย ๆ อย่าง Learning object แล้วนำมาประกอบขึ้นใหม่เป็นเนื้อหาที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้เรียนแต่ ละบุคคล เหมือนกับปรัชญาการผลิตเรื่อง Just-in-time กล่าวคือส่งความรู้ในปริมาณที่เพียงพอให้ถูกบุคคล ทันเวลาเหมาะสมกับการใช้งาน แต่ระบบสามารถจัด Learning object ได้ต้องให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนการเข้าเรียน แล้วนำไปวิเคราะห์หา learning path สรุปการทำงานของระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้
ที่มา http://nongna005.multiply.com/journal/item/16

ความแตกต่าง ของ CMS LMS และLCMS
CMS คือ ระบบที่พัฒนา คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยลดทรัพยากรในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกำลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใช้ในการสร้างและควบคุมดูแลไซต์ โดยส่วนใหญ่แล้ว มักจะนำเอา ภาษาสคริปต์(Script languages) ต่างๆมาใช้ เพื่อให้วิธีการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติ
LMS คือเน้นที่การใช้เพื่อบริหารจัดการการเรียนการสอนทั้งในห้องเรียนปกติและใน ห้องเรียนเสมือน เพื่อช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ WBI เน้นการนำเสนอเนื้อหาของรายวิชาทางเว็บ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนได้ตามศักยภาพของผู้เรียน Virtual Classroom
LCMS สามารถสร้าง และจัดเก็บข้อมูลเมื่อนำความสามารถของทั้ง 2 ระบบมาผนวกเข้าด้วยกัน แล้วพัฒนาต่อจนเกิด LCMS โดยมีการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบ คือระบบสามารถสร้างจัดเก็บ นำมา ใช้ใหม่ จัดการและเผยแผ่

LMS ประกอบด้วย 5 ส่วนดังนี้
1. ระบบจัดการหลัก สูตร (Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และผู้บริหารระบบ โดยสามารถเข้าสู่ระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสามารถรองรับจำนวน user และ จำนวนบทเรียนได้ ไม่จำกัด โดยขึ้นอยู่กับ hardware/software ที่ใช้ และระบบสามารถรองรับการใช้งานภาษาไทยอย่างเต็ม รูปแบบ

2. ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) ระบบ ประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียน ในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media

3. ระบบ การทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มี ระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบการสุ่มข้อสอบสามารถจับเวลาการทำข้อสอบและการตรวจข้อสอบ อัตโนมัติ พร้อมเฉลย รายงานสถิติ คะแนน และสถิติการเข้าเรียนของนักเรียน

4. ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบด้วย เครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สื่อสารระหว่าง ผู้เรียน - ผู้สอน และ ผู้เรียน - ผู้เรียน ได้แก่ Webboard และ Chatroom โดยสามารถเก็บ History ของข้อมูลเหล่านี้ได้

5. ระบบจัดการ ข้อมูล (Data Management System) ประกอบ ด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ผู้สอนมีเนื้อที่เก็บข้อมูลบทเรียนเป็นของตน เอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ Admin กำหนดให้

สรุปก็คือ

LCMS ช่วยให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากเนื้อหาออเป็นส่วนย่อยๆ อย่าง Learning object แล้วนำมาประกอบขึ้นใหม่เป็นเนื้อหาเหมาะสมกับความต้องการ ของผู้เรียนแต่ละ บุคคล กล่าว คือส่งความรู้ในปริมาณที่เพียงพอให้ถูกบุคคลทันเวลาเหมาะสมกับการใช้ งาน ก็คือ การทำงานของระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้

วิเคราะห์ ความแตกต่างว่าเป็นอย่างไร

1. CMS ; Content Management System เป็นการช่วยลดภาระหน้าที่ในการดูแลระบบ โดยไม่สิ้นเปลื้องทรัพยากรต่างครับ

สามารถนำมาใช้ ในการประยุกต์ใช้ได้ดังนี้
ระบบ CMS สามารถนำมาประยุกต์ในงานต่างๆ หลากหลาย ตัวอย่างการนำซอฟต์แวร์ CMS มา
ประยุกต์ใช้งาน อาทิเช่น
>> การนำ CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สถาบันการศึกษา ธุรกิจบันเทิง หนังสือพิมพ์ การเงิน การ
ธนาคาร หุ้นและการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ งานบุคคล งานประมูล สถานที่ท่องเที่ยว งานให้บริการลูกค้า
>> การนำ CMS มาใช้ในหน่วยงานของรัฐ อาทิเช่น งานข่าว งานประชาสัมพันธ์ การนำเสนองานต่างๆ
ขององค์กร
>> การใช้ CMS สร้างไซต์ ส่วนตัว ชมรม สมาคม สมาพันธ์ โดยวิธีการแบ่งงานกันทำ เป็นส่วนๆ ทำให้
เกิดความสามัคคี ทำให้มีการทำงานเป็นทีมเวิร์คมากยิ่งขึ้น
>> การนำ CMS มาใช้ในการสร้างเว็บไซต์สำหรับธุรกิจ SME โดยเฉพาะสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
หรือ OTOP กำลังได้รับความนิยมสูง
>> การนำ CMS มาใช้แทนโปรแกรมลิขสิทธิ์ อื่นๆ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย และง่ายต่อการพัฒนา
>> การใช้ CMS ทำเป็น Intranet Web Site สร้างเว็บไซต์ใช้ภายใน องค์กร

2. LMS ; Learning Management System เป็นการนำเอาระบบมาใช้ที่ต่างจากข้อแรกมาประเมินผลทางด้านวิชาการ ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพมากขึ้นจากเดิม ซึ่งจะมีส่วนประกอบที่เพิ่มเติมจากเดิมที่ขาดไม่ได้เลยคือ ระบบการจัดหลักสูตร ระบบการสร้างบทเรียน ระบบการ ทดสอบและประเมินผล ระบบส่งเสริมการเรียน ระบบจัดการข้อมูล ซึ่งสิ่งเหล่านี้นั้นเป็นการพัฒนาคุณภาพเป็นกระบวนการ ซึ่งมีแบบแผนปฏิบัติที่ชัดเจน

3. LCMS : Learning Content Management System เป็น ระบบที่มีการบูรณาการในส่วนเครื่องมือการสร้างและจัดการเนื้อหาในระบบให้ผู้ สอนนั้นสามารถที่จะสื่อสารได้หลายรูปแบบและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ความแตก ต่างของ LMS และ LCMS

LMS มุ่งเน้นการจัดการเกี่ยวกับผู้เรียน กิจกรรมของผู้เรียน ติดตามความก้าวหน้าและประเมินความสามารถของผู้เรียน

LCMS มุ่งเน้นการนำเสนอเนื้อหา การนำเนื้อหากลับมาใช้ใหม่ การจัดการและการปรับปรุงเนื้อหาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


http://www.thungsong.ac.th/lcms/about.php?lang=th
http://3.bp.blogspot.com/_kTAF3CutVpw/S0wuxmoKLHI/AAAAAAAAAEU/oudNstIpQzM/s320/2.bmp
http://www.dek-d.com/chat/
http://1.bp.blogspot.com/_kTAF3CutVpw/S0wtIX_hvmI/AAAAAAAAAEM/pT-w_agqV_E/s320/1.bmp
http://www.tnt.co.th/website/thai/cms/index.php